Page 31 - alro46
P. 31
บทวิเครำะห์
กำรประกอบเกษตรกรรมเชิงท่องเที่ยวในเขตปฏิรูปที่ดิน
สำมำรถด�ำเนินกำรได้หรือไม่เพยงใด
ี
ภาพที่ 5 ตัวอย่างเกษตรกรรมเชิงท่องเที่ยว
ที่มา : บ้านไร่ ไออรุณ baan rai i arun (2560)
พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 มีเจตนารมณ์ในการปรับปรุงเกี่ยวกับ
ี
ี
สิทธิและการถือครองท่ดินเพ่อเกษตรกรรม รวมตลอดถึงการจัดท่อยู่อาศัยในท่ดินเพ่อเกษตรกรรมน้น
ี
ั
ื
ื
ั
ี
้
ื
ิ
่
่
ั
ี
่
�
ิ
้
ั
ิ
่
ี
ื
ื
ึ
ิ
่
ื
�
ั
ิ
ี
่
โดยรฐนาทดนของรฐ หรอทดนทรฐจดซอหรอเวนคนจากเจ้าของทดน ซงมได้ทาประโยชน์ในทีดนนน
ั
ด้วยตนเอง หรือมีที่ดินเกินสิทธิตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อจัดให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ดินท�ากินของตนเอง
หรือเกษตรกรท่มีท่ดินเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันเกษตรกรได้เช่าซ้อ เช่า
ื
ี
ี
�
หรือเข้าทาประโยชน์โดยรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม การปรับปรุงทรัพยากร
และปัจจัยการผลิต ตลอดจนการผลิตและการจ�าหน่ายให้เกิดผลดียิ่งขึ้น
ในการพิจารณาว่าจะสามารถประกอบกิจกรรม “การเกษตรเชิงท่องเที่ยว” ได้หรือไม่ นอกจาก
ื
จะต้องพิจารณาหลักการของการปฏิรูปท่ดินเพ่อเกษตรกรรมตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ดิน
ี
ี
เพื่อเกษตรกรรมฯ ที่มีผลบังคับใช้อยู่ในปัจจุบันแล้ว จะต้องพิจารณาถึงระเบียบ ส.ป.ก. ที่เกี่ยวข้องด้วย
ดังนี้
1. ในกรณีท่เกษตรกรผู้ได้รับการจัดท่ดินเป็นผู้ประกอบการเกษตรเชิงท่องเท่ยว จะต้อง
ี
ี
ี
ี
ี
�
คานึงถึงระเบียบ คปก. ว่าด้วยการให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับท่ดินจากการจัดท่ดิน
ิ
ิ
ี
่
ี
�
เพ่อเกษตรกรรมปฏิบัติเก่ยวกับการเข้าทาประโยชน์ในท่ดิน พ.ศ. 2535 แก้ไขเพมเตม (ฉบับท่ 2)
ี
ื
�
ึ
ี
พ.ศ. 2540 ซ่งข้อ 7 กาหนดให้เกษตรกรผู้ได้รับมอบท่ดินให้เข้าทาประโยชน์ในท่ดินมีหน้าท่ปฏิบัต ิ
ี
�
ี
ในประการส�าคัญ คือ ต้องท�าประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน
18 45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
ี