Page 36 - alro46
P. 36
ภาพที่ 7-8 สภาพพื้นที่อ�าเภอวังน�้าเขียวในปัจจุบัน
ที่มา : ไทยรัฐออนไลน์ (2558), นักเที่ยวเชี่ยวทาง (2559)
3. การขยายตัวและการพัฒนาของชุมชนเมือง เขตปฏิรูปท่ดินจังหวัดพะเยา บริเวณ
ี
หน้ามหาวิทยาลัยพะเยา และเขตปฏิรูปท่ดินจังหวัดเชียงราย บริเวณหน้ามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ี
�
ี
ี
ี
ท่ผู้ได้รับการจัดท่ดินหลายรายได้เปล่ยนสภาพการทาประโยชน์จากเกษตรกรรมเป็นกิจการหอพัก
ี
สาหรับนักศึกษา หรือร้านค้า ร้านอาหารเคร่องด่ม ซ่งเป็นการเปล่ยนแปลงสภาพการทาประโยชน์
ื
�
ื
�
ึ
ื
�
ื
จากเกษตรกรรมไปสู่การทาประโยชน์อย่างอ่นเป็นหลัก มิใช่การเกษตรเชิงท่องเท่ยวโดยตรง แต่พ้นท ี ่
ี
ี
ี
่
ี
ู
ิ
่
ิ
ี
ิ
ิ
่
ั
ั
็
ึ
ดงกล่าวสะท้อนให้เหนถงปัจจยทมผลต่อพฤตกรรมการใช้ทดนของเกษตรกรในเขตปฏรปทดน
ซ่งมีสาเหตุมาจากการก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ เช่น มหาวิทยาลัย แหล่งชุมชนขนาดใหญ่ เป็นต้น
ึ
ี
ี
ื
ี
ท่มีอิทธิพลต่อการใช้ท่ดินของประชาชน เพ่อประกอบกิจกรรมอย่างอ่นในพ้นท่โดยรอบนอก
ื
ื
จากเกษตรกรรม เพราะก่อให้เกิดรายได้มากกว่า
ภาพที่ 9-10 เขตปฏิรูปที่ดิน บริเวณ ม.พะเยา และ ม.แม่ฟ้าหลวงในปัจจุบัน
ที่มา : U-Review (ม.ป.ป.)
4. ความต้องการของเกษตรกรและชุมชน ในเขตปฏิรูปท่ดินจังหวัดระนอง บริเวณเกาะพยาม
ี
มีการนาท่ดินไปใช้สาหรับสร้างท่พักหรือรีสอร์ทสาหรับให้บริการแก่นักท่องเท่ยวเชิงธรรมชาต ิ
ี
�
�
ี
ี
�
จากเดิมท่เกษตรกรทาประโยชน์ในท่ดิน เช่น ยางพารา มะพร้าว มะม่วงหิมพานต์ เป็นต้น ภายหลัง
�
ี
ี
ึ
ี
ิ
ี
ื
ื
ี
เม่อมีนักท่องเท่ยวเพ่มมากข้น การปรับเปล่ยนสภาพพ้นท่เพ่อการท่องเท่ยวช่วยสร้างรายได้ให้แก่
ี
ื
ี
45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข 23