Page 35 - alro46
P. 35
ี
ี
�
ี
ต่อการทาการเกษตรเชิงท่องเท่ยวของเกษตรกรผู้ได้รับการจัดท่ดินจาก ส.ป.ก. เช่น การเปล่ยนแปลง
ิ
ึ
สภาพท่ดิน การปลูกสร้างส่งก่อสร้างใด ๆ เกินสมควร เป็นต้น ซ่งอาจมีผลกระทบต่อสิทธ ิ
ี
ี
ื
�
ื
ของเกษตรกรในการเข้าทาประโยชน์ในเขตปฏิรูปท่ดิน รวมถึงหลักเกณฑ์ วิธีการ เง่อนไขในการย่น
ี
ขออนุญาต และการใช้ดุลพินิจของคณะกรรมการปฏิรูปท่ดินจังหวัดในการพิจารณาอนุญาตตามข้อ 9
ี
ท่ยังไม่มีความชัดเจนในรายละเอียดและในระยะยาว ส.ป.ก. จะต้องผลักดันให้มีการแก้ไขปรับปรุง
พระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ดินเพ่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 เพ่อรองรับการประกอบกิจกรรม
ี
ื
ื
การเกษตรเชิงท่องเที่ยวให้มีผลเป็นรูปธรรม
2. ให้มีการพิจารณาปรับปรุงประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยระบุรายการกิจการ
ี
ี
ื
ี
ท่เป็นการสนับสนุนหรือเก่ยวเน่องกับการปฏิรูปท่ดินให้เกิดความชัดเจนในการปฏิบัติหน้าท ี ่
ของเจ้าหน้าที่และในกระบวนการอนุญาต
�
ี
3. ให้ ส.ป.ก. ทาการสารวจข้อมูลการใช้ประโยชน์ในท่ดินของเกษตรกรนอกเหนือจาก
�
การท�าเกษตรกรรม
�
4. ให้ ส.ป.ก. รวบรวมข้อมูลและจัดทาแผนผังการใช้ประโยชน์ในท่ดินเพ่อเป็นฐานข้อมูล
ื
ี
ในการบริหารจัดการที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน
5. จัดท�าหลักเกณฑ์ในการพิจารณาพื้นที่ด�าเนินโครงการการเกษตรเชิงท่องเที่ยว โดยพิจารณา
ศักยภาพของชุมชนในด้านต่าง ๆ และความเช่อมโยงของแหล่งท่องเท่ยวหลักในพ้นท่ ในกรณีท่ม ี
ี
ื
ื
ี
ี
เกษตรกรได้ดาเนินโครงการไปก่อนแล้วในเขตปฏิรูปท่ดินแปลงใด ส.ป.ก. จะต้องเข้าไปต่อยอด
�
ี
โครงการและถอดองค์ความรู้เชิงประจักษ์ไปสู่เกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดินในแปลงอื่น ๆ
�
ั
6. ให้ ส.ป.ก. จัดทาคู่มือการปฏิบัติงานรวมท้งแนวทางในการตรวจสอบการใช้ประโยชน์
ในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อให้การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
ี
ั
ี
7. ให้มหลักเกณฑ์ในการเรยกเกบค่าตอบแทนในอัตราทเหมาะสม หรือให้เกษตรกรได้รบ
็
ี
่
การยกเว้นไม่ต้องจ่ายค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ในที่ดินเพื่อกิจการดังกล่าวได้
ี
8. ให้ ส.ป.ก. จังหวัด นาข้อมูลเสนอคณะกรรมการปฏิรูปท่ดินจังหวัดและหรือคณะอนุกรรมการ
�
ปฏิรูปที่ดินอ�าเภอ เพื่อทราบแนวทางในการจัดที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินส�าหรับการเกษตรเชิงท่องเที่ยว
�
�
ี
ั
ี
ท้งน้ ในกระบวนการอนุญาตและการส่งเสริมการใช้ท่ดินจะต้องคานึงถึงปัจจัยสาคัญ
อย่างรอบด้าน รวมทั้งสภาพความเป็นจริงของพื้นที่และความต้องการที่แท้จริงของประชาชน ดังนี้
1. ความเหมาะสมของพื้นที่เกษตรกรรม เช่น พื้นที่ปฏิรูปที่ดินที่ติดชายทะเล ไม่มีความเหมาะสม
แก่การท�าเกษตรกรรม หรือเชิงเขาสภาพดินมีความเหมาะสมน้อยในการท�าเกษตรกรรม เป็นต้น
ี
ื
ี
ี
2. ศักยภาพของพ้นท่ในการดึงดูดนักท่องเท่ยว เช่น ท้องท่อาเภอวังนาเขียว พ้นท่เศรษฐกิจพิเศษ
ื
้
�
ี
�
ชายแดน เป็นต้น เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในด้านอื่น ๆ นอกจากเกษตรกรรม และเป็นทางเลือกให้เกษตรกร
สามารถใช้พื้นที่ดังกล่าวเพื่อแสวงหาประโยชน์ที่ดีกว่าการท�าเกษตรกรรมแต่เพียงอย่างเดียว
22 45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
ี