Page 37 - alro46
P. 37
�
ี
�
เกษตรกรมากกว่าการทาเกษตรกรรมอย่างเห็นได้ชัด จึงทาให้เกษตรกรผู้ได้รับการจัดท่ดินจาก ส.ป.ก.
เกิดการลอกเลียนแบบวิธีการใช้ประโยชน์ในท่ดินจนยากท่จะควบคุมให้พ้นท่ดังกล่าวอยู่ในกรอบเฉพาะ
ี
ี
ื
ี
เพื่อการเกษตรกรรมแต่เพียงอย่างเดียวได้
ภาพที่ 11-12 สภาพพื้นที่เกาะพยามในปัจจุบัน
ที่มา : เรียลภูเก็ตทัวร์ (ม.ป.ป.), ผู้จัดการออนไลน์ (2560)
แนวทำงกำรควบคุมกำรใช้ประโยชน์ในที่ดินส�ำหรับกิจกำรอื่นในเขตปฏิรูปที่ดิน
การอนญาตให้ใช้ทดนเพอกจการทเป็นการสนบสนนหรอเกยวเนองกบการปฏรปทดน
ี
ี
่
่
ิ
ิ
ื
ู
ิ
ั
ิ
่
ี
ื
ื
ุ
ั
่
่
ี
ุ
่
�
ี
ในลักษณะการเกษตรเชิงท่องเท่ยว นอกจากจะต้องคานึงถึงเหตุปัจจัยต่าง ๆ ดังกล่าวและหลักการ
ุ
ู
ตามแนวคาพพากษาของศาลปกครองสงสดและความเหนของคณะกรรมการกฤษฎีกาแล้ว
็
ิ
�
ในขณะเดียวกัน ก็จะต้องมีมาตรการหรือแนวทางในป้องกันและป้องปรามไม่ให้นายทุนเข้ามาใช้
ประโยชน์ในท่ดิน โดยวิธีการขอรับอนุญาตในกิจการท่เป็นการสนับสนุนหรือเก่ยวเน่องกับการปฏิรูปท่ดิน
ี
ี
ี
ื
ี
เพื่อเกษตรกรรม จนน�าไปสู่การท�าธุรกิจการท่องเที่ยวในเขตปฏิรูปที่ดินด้วย ดังนี้
ื
ึ
ี
1. ต้องพิจารณาถึงเจตนารมณ์ของการปฏิรูปท่ดินเพ่อเกษตรกรรม ซ่งเกษตรกรในเขตปฏิรูป
ท่ดินจะต้องเป็นผู้ได้รับประโยชน์จากกิจการน้นโดยตรง ไม่ตีความกิจการอ่นจนเอ้อต่อบุคคลทุกกลุ่ม
ื
ั
ื
ี
ื
ซ่งบางคร้งเป็นการเอ้อให้บุคคลใด ๆ ท่ไม่ใช่เกษตรกร แต่เป็นบุคคลท่ดาเนินกิจการทางธุรกิจเป็นหลัก
ึ
ี
ั
ี
�
ให้สามารถเข้ามาใช้ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินได้
2. ต้องค�านึงถึงหลักการในการลดปัญหาความเหลื่อมล�้าในการถือครองที่ดิน
3. ป้องปรามมิให้บุคคลใดท่มิใช่เกษตรกรเข้ามาแสวงหาประโยชน์ในทางธุรกิจในเขตปฏิรูปท่ดิน
ี
ี
ส.ป.ก. โดยเสนอให้ คปก. ก�าหนดหลักเกณฑ์ในการเรียกเก็บค่าตอบแทนในอัตราที่เหมาะสมกับประเภท
ของกิจการที่บุคคลอื่นซึ่งมิใช่เกษตรกรได้ด�าเนินการอยู่ในปัจจุบัน
4. ด�าเนินคดีตามกฎหมายโดยเคร่งครัดกับบุคคลที่ด�าเนินกิจการโดยไม่ได้รับอนุญาต
ิ
5. มีการติดตามประเมินผลสัมฤทธ์ของกิจการเพ่อพัฒนาและแก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์
ื
และแนวทางในการพิจารณาอนุญาตให้ทันสมัยและเกิดความเหมาะสมกับสภาพการณ์
24 45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
ี