Page 64 - alro46
P. 64

ึ
                                   �
                    ภาครัฐให้ความสาคัญกับความม่นคงทางพลังงานของประเทศอย่างมาก ซ่งจะเห็นได้ว่า
                                                ั
             มีการกาหนดเป็นการเฉพาะในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ยุทธศาสตร์ชาต     ิ
                   �
                                                                                            ั
                                               ี
                                                          ิ
             ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่เป็นมิตรต่อส่งแวดล้อม ประเด็นด้านการพัฒนาความม่นคง
                                                                 ี
                                       ี
                                                                                            ั
                                                 ิ
             ด้านพลังงาน และการเกษตรท่เป็นมิตรต่อส่งแวดล้อม ในข้อท่ 3 ระบุว่าให้มีการพัฒนาความม่นคง
             พลังงานของประเทศและส่งเสริมการใช้พลังงานท่เป็นมิตรต่อส่งแวดล้อม และกระทรวงพลังงาน
                                                                   ิ
                                                       ี
                   �
             ได้จัดทาแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 – 2579 (กระทรวงพลังงาน, 2558)
                  �
                ื
             เพ่อกาหนดทิศทางของการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกของประเทศไทยในอนาคต
             เพื่อรองรับด้วย มีการประเมินจากการพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้าในอนาคต พบว่า ค่าความต้องการ
                                 ั
                     ั
                                                                              ึ
             ใช้ไฟฟ้าข้นสุดท้ายของท้งประเทศ ณ ปี 2579 เท่ากับ 326,119 ล้านหน่วย ซ่งในปี 2560 มีการใช้
             ไฟฟ้าเท่ากับ 185,370 ล้านหน่วย จึงมีความจาเป็นต้องเพ่มการผลิตไฟฟ้าเกือบเท่าตัวจากปัจจุบัน
                                                    �
                                                              ิ
             (กระทรวงพลังงาน, 2560)
                    สาหรับเป้าหมายการพัฒนาพลังงานทดแทนน้น จากนโยบายท่จะเพ่มสัดส่วนการใช้พลังงาน
                                                                            ิ
                                                                       ี
                     �
                                                         ั
                                                              ื
                       ั
                           ู
                       ้
                                                                     ี
                                                                  ิ
                                                              ้
                                   ั
             ทดแทน ทงในรปของพลงงานไฟฟ้า ความร้อน และเชอเพลงชวภาพภายใต้แผน AEDP2015
                                           ั
             เป็นร้อยละ 30 ของการใช้พลังงานข้นสุดท้ายในปี 2579 จะเทียบเท่ากับการลดใช้เช้อเพลิงฟอสซิลได้
                                                                                  ื
             ราว 39,388 ktoe (kiloton of oil equivalent) ซ่งสามารถประเมินเป็นมูลค่าการลดใช้เช้อเพลิง
                                                          ึ
                                                                                          ื
             ฟอสซิลได้ 590,820 ล้านบาท (ราคาน�้ามันดิบ 1 ktoe = 15 ล้านบาท) หรือประเมินเป็นก๊าซเรือนกระจก
             ท่ลดได้จากการเผาไหม้เช้อเพลิงฟอสซิลเพ่อผลิตพลังงานได้ราว 140 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์
                                                 ื
               ี
                                   ื
             เทียบเท่า (tCO ) เลยทีเดียว (กระทรวงพลังงาน, 2560)
                          2e
                                                  ี
                                   ื
                    ผู้เขียนเห็นว่า พ้นท่ในเขตปฏิรูปท่ดินมีศักยภาพในการประกอบกิจการพลังงานลมและ
                                      ี
             พลังงานจากชีวมวล และยังมีกาลังการผลิตคงเหลืออีกมากท่รัฐจะสามารถรับซ้อได้ (ข้อมูลตารางท่ 1)
                                                              ี
                                                                            ื
                                                                                             ี
                                      �
               �
                                                                                  ั
             สาหรับการใช้ท่ดินในเขต  ส.ป.ก.  เพ่อสนับสนุนนโยบายภาครัฐในด้านความม่นคงพลังงานใน
                           ี
                                              ื
             การประกอบกิจการพลังงานจากชีวมวลในเขต ปฏิรูปท่ดินน้น ส.ป.ก. ยังมิเคยอนุญาตให้มีการ
                                                             ี
                                                                 ั
             ดาเนินกิจการพลังงานชีวมวล ซ่งการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานชีวมวลมีประโยชน์มากเพราะในบางพ้นท  ี ่
                                       ึ
                                                                                             ื
               �
                                                                                      ั
                                                                                         ุ
                                                           �
                      ึ
                      ่
                                   ี
                               ิ
                   ิ
               ี
             มวตถดบซงเป็นสารอนทรย์ทเป็นแหล่งกกเกบพลงงานจานวนมาก ได้แก่ เศษไม้ ขยะ วสดเหลอใช้
                  ุ
                ั
                                                                                            ื
                                                  ็
                                               ั
                                     ี
                                     ่
                                                      ั
             ทางการเกษตร (แกลบ ชานอ้อย เศษไม้ กากปาล์ม กากมัน ซังข้าวโพด) เป็นต้น ส่วนใหญ่เป็นวัสด  ุ
             เหลือใช้ทางการเกษตรในหลายพ้นท่ท่มีการเพาะปลูกพืชเชิงเด่ยว หากมีการส่งเสริมให้มีการจัดต้ง
                                                                                              ั
                                         ื
                                                                 ี
                                             ี
                                            ี
                                    ั
             โรงงานผลิตไฟฟ้าชีวมวลน้นนอกจากเป็นการส่งเสริมให้มีการใช้ประโยชน์ทรัพยากรท่เหลือใช้
                                                                                        ี
             ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแล้ว ยังเป็นการเพ่มมูลค่าของเหลือจากภาคการเกษตรและส่งเสริมเศรษฐกิจ
                                               ิ
             ภาคการเกษตรให้ชุมชนโดยตรงอีกด้วย
                                                                          ี
                                                                       45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข  51
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69