Page 67 - alro46
P. 67
2.2 ลักษณะกำรใช้ประโยชน์ที่ดินและผลกระทบของกำรด�ำเนินกิจกำร
้
ื
ื
�
การพัฒนาเทคโนโลยีกังหันลมมีวัตถุประสงค์เพ่อทดแทนการใช้นามันเช้อเพลิง
ี
�
ั
ึ
ิ
ท่มีปริมาณน้อยลง และมีราคาแพงมากย่งข้น ในการนาพลังงานลมมาผลิตกระแสไฟฟ้าน้น เป็นการ
ี
เปล่ยนพลังงานจลน์ด้วยใบพัดกังหันลม แล้วเปล่ยนเป็นพลังงานกล (การหมุน) แล้วมีการส่ง
ี
พลังงานไปด้วยการหมุนของกังหันลม แล้วเกิดเป็นพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานกลต่อไป (การไฟฟ้า
ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย, 2561)
ี
ื
ี
ี
ื
พ้นท่ท่เป็นแนวเขตร่องลมในประเทศไทยน้นเป็นพ้นท่ความเร็วลมท่มีศักยภาพในการ
ี
ั
ี
ั
ื
ี
ี
ผลิตไฟฟ้า โดยเป็นพ้นท่ท่ได้รับลมเกือบตลอดท้งปี จากกระแสลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ท่จะม ี
ี
ในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมของทุกปี และจากกระแสลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือท่จะม ี
�
ึ
ในเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคมของทุกปี ซ่งต้งแต่ปี 2553 ส.ป.ก. เคยอนุญาตให้ดาเนินการ
ั
ี
ี
ื
ั
กิจการกังหันลมในพ้นท่จังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดชัยภูมิ โดยเฉล่ยแล้วการติดต้งเสากังหันลม
1 ต้น ใช้พื้นที่เพียง 1 ไร่เท่านั้น (ยังไม่รวมพื้นที่ถนนโครงการ ซึ่งผู้ประกอบการสร้างเป็นสาธารณูปโภค
ี
ื
�
สาหรับวางระบบสายไฟและเกษตรกรในพ้นท่ใช้ประโยชน์เข้าแปลงเกษตรกรรม) ซ่งเกษตรกร
ึ
�
ในเขตปฏิรูปท่ดินยังสามารถใช้ประโยชน์ท่ดินเพ่อทาการเกษตรได้ เพียงแต่บริเวณข้างเคียงอาจจะ
ี
ี
ื
ื
ั
ิ
ิ
ี
�
้
ี
�
ี
่
ิ
ั
ิ
ื
ู
ถกรอนสทธด้วยการจากดชนดของพชทสามารถเพาะปลกได้ แต่ทว่าพนท่ท่ดาเนนกจการกงหนลมนน
ู
ั
ั
ิ
้
�
ี
มักจะเป็นการปลูกพืชเชิงเด่ยว เช่น มันสาปะหลัง เป็นต้น ดังน้น จึงไม่เป็นอุปสรรคสาหรับการประกอบ
�
ั
กิจการมากนัก
ภาพที่ 1 แสดงทิศทางการไหลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงใตและลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
้
54 45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
ี