Page 6 - ch1 สภาพแวดล้อมของการลงทุน 2564-Investment
P. 6

บทที่ 1 สภาพแวดลอมในการลงทุน                                     6


            ผลประโยชน เพราะกรรมการบริหารกิจการสรางผลประโยชนสวนตัวแทนการสราง
                       
            ผลประโยชนแกผูถือหุนสามัญตามหนาที่ของตน

                    การแกปญหาความขัดแยงทางผลประโยชน นั้นอาจดำเนินการแกไขไดหลาย
            แบบ ไดแก การกำหนดแผนการจายคาตอบแทนแกกรรมการบริหารโดยม        ี

            ความสัมพันธกับรายไดของบริษัท เชน การใหหุนสามัญเปนคาตอบแทน ดังน้น
                                                                             ั
            กรรมการบริหารจะบริหารกิจการเพื่อใหมีกำไรและสงผลใหราคาหุนของบริษัทสูงขึ้น

            และตนเองจะไดผลประโยชนดวย  อยางไรก็ตามวิธีการนี้อาจทำใหผูจัดการที่ไม 
            ซื่อสัตยอาจเปดเผยขอมูลบริษัทบางสวนเพื่อทำใหราคาสูงขึ้นและใชโอกาสนี้ขายหุนที ่

            ถือตนอยู ซึ่งอาจไมใชขอมูลที่เปนจริงและทำใหหลังจากนั้นราคาหุนจะปรับตัวเขาส  ู
            ราคาที่ควรจะเปน และสงผลเสียตอนักลงทุนที่ซื้อหุนตอนราคาปรับตัวสูงขึ้น  แนว
                                                     
            ทางการแกปญหาความขัดแยงทางผลประโยชนอีกแนวทางหนงไดแก การตั้ง
                                                                  ึ
                                                                  ่
                                                                             
            คณะกรรมการตรวจสอบการทำงานของผูบริหาร ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบอาจเปน
            บุคคลภายนอกที่ไมเกี่ยวของกับบริษัท เชน   นักวิเคราะหหลักทรัพย นักลงทุน หรือ
            สถาบันการเงินขนาดใหญ เขามาตรวจสอบบริษัทอยางใกลชิด

            การเปนบรรษัทภิบาล

                    บริษัททีตองการระดมทุนผานตลาดการเงินน้นควรมีการบริหารบริษัทใหเปน
                          ่
                                                                             
                                                      ั
            บรรษัทภิบาล หรือบริษัทที่มีการบริหารกิจการที่ดี โดย บริษัทตองมหลักพื้นฐานการ
                                                                  ี
            กำกับดูแลกิจการที่ดี 5 ประการ ไดแก ความยุติธรรม (Fairness) ความโปรงใส
            (Transparency) ความซื่อสัตย (Integrity) ความรับผิดชอบ (Responsibility) และ
            ภาระรับผิดชอบ (Accountability) ในการดำเนินกิจการ เพื่อใหบริษัทสามารถสราง
            มูลคาเพิ่มใหกับกิจการในระยะยาว และสรางความเชื่อมั่นในการลงทุนในตราสารทาง

            การเงินของบริษัทนั้นแกนักลงทุน

            ผูมีบทบาทในระบบการเงิน


                    ผูที่มีบทบาทในระบบการเงินประกอบดวย ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ
            ภาครัฐบาล และองคกรการทางการเงิน
                            

            เอกสารคำสอน รายวิชาหลักการลงทุน (Principles of Investment) รหัสวิชา 03759231
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11