Page 172 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 172
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 171
�
�
อย่างไรก็ตาม สานวนคดีความรุนแรงในครอบครัวจะมีรูปแบบท่แตกต่างจากสานวน
ี
ู
ุ
ื
ุ
ี
่
็
คดค้มครองเดก เนองจาก พ.ร.บ.ค้มครองผ้ถกกระทาด้วยความรนแรงฯ ได้ระบหลกเกณฑ์
ั
ุ
ุ
ู
�
ี
�
ั
�
�
เก่ยวกับการทาสานวนการสอบสวนไว้ชัดเจนกว่า ดังน้น นอกจากผู้ตรวจรับสานวนและพนักงาน
�
อัยการจะต้องพิจารณาเอกสารประกอบสานวนการสอบสวนตามหลักเกณฑ์การตรวจรับ
�
สานวนคดีอาญาธรรมดาหรือคดีฟ้องด้วยวาจาแล้ว ผู้ตรวจรับสานวนและพนักงานอัยการยังต้อง
�
�
�
ตรวจสอบหลักเกณฑ์สาคัญตามพ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัวฯ
ด้วย ดังนี้
(๑) ตรวจพิจารณาเรื่องเขตอ�านาจศาล
�
ื
เน่องจากการดาเนินคดีความผิดตาม พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระทาด้วยความรุนแรงฯ
�
มีได้ทั้งในเขตอ�านาจศาลจังหวัด ศาลแขวง และศาลเยาวชนและครอบครัว ดังนั้น ผู้ตรวจรับ
ี
�
�
สานวนพึงพิจารณาโดยละเอียดว่า สานวนคดีความรุนแรงในครอบครัวท่พนักงานสอบสวน
ั
�
ส่งมาน้น อยู่ในเขตอานาจของศาลเยาวชนและครอบครัวหรือไม่ ตามพ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูก
กระท�าด้วยความรุนแรงฯ ตามมาตรา ๓ และมาตรา ๘
ก. ความผิดฐานกระท�าความรุนแรงในครอบครัว (มาตรา ๔, ๘)
ื
ข. ความผิดฐานกระทาความรุนแรงในครอบครัว + ความผิดตามกฎหมายอ่น
�
ที่เป็นกรรมเดียวและมีโทษไม่สูงกว่า ตามมาตรา ๘ วรรคสอง
ค. ความผิดฐานกระทาความรุนแรงในครอบครัว + ความผิดตามกฎหมายอ่น
�
ื
ท่เก่ยวพันกันและมีอัตราโทษไม่สูงกว่า ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา
ี
ี
๒๔ และ มาตรา ๑๖๐
ี
ง. ความผิดฐานกระทาความรุนแรงในครอบครัวท่เด็กหรือเยาวชนเป็นผู้ต้องหา
�
ไม่ว่าจะเป็นกรรมเดียวหรือหลายกรรม
ื
หากมีความผิดตามกฎหมายอ่นท่มีโทษสูงกว่าในสานวนคดีความรุนแรง
ี
�
�
�
ในครอบครัวซ่งผู้ต้องหาเป็นผู้ใหญ่แล้ว สานักงานคดีเยาวชนและครอบครัวย่อมไม่มีอานาจ
ึ
ี
ั
�
�
พิจารณาคดีน้น ต้องคืนสานวนการสอบสวนให้พนักงานสอบสวนไปดาเนินการยังศาลท่ม ี
เขตอ�านาจต่อไป