Page 173 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 173
172 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
(๒) การตรวจพิจารณาเรื่องการร้องทุกข์
ใน พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงฯ มาตรา ๔ วรรคสอง ก�าหนดให้
�
ความผิดฐานกระทาการอันเป็นความรุนแรงในครอบครัว เป็นความผิดอันยอมความได้
�
ั
�
ี
ดังน้น พนักงานสอบสวนจะดาเนินคดีความผิดฐานน้ได้จะต้องมีการร้องทุกข์จากผู้มีอานาจ
ตามกฎหมายและภายในก�าหนดระยะเวลาตามกฎหมายเสียก่อน คือ
ก. ผู้เสียหาย ซ่งเป็นผู้ถูกกระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว จะต้องร้องทุกข์
�
ึ
ต่อพนักงานสอบสวนภายในสามเดือนนับแต่ผู้เสียหายอยู่ในวิสัยและมีโอกาสท่สามารถจะแจ้ง
ี
หรือร้องทุกข์ได้
ี
ึ
ข. พนักงานเจ้าหน้าท่ซ่งได้รับแจ้งเหต มีอานาจร้องทุกข์แทนผู้เสียหาย
�
ุ
ี
�
ในกรณีท่ผู้เสียหายมีความประสงค์ท่จะดาเนินคดีกับผู้กระทาความรุนแรงในครอบครัว
ี
�
แต่ผู้เสียหายไม่อยู่ในวิสัยและมีโอกาสที่จะร้องทุกข์ด้วยตนเองได้ ตามมาตรา ๖
�
ค. ผู้มีอานาจจัดการแทนผู้เสียหาย สามารถร้องทุกข์แทนผู้เสียหายได้
ตามหลักเกณฑ์ใน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔ และ ๕ โดยต้องดาเนินการ
�
ภายในสามเดือนนับแต่ผู้เสียหายอยู่ในวิสัยและมีโอกาสที่จะร้องทุกข์ได้
(๓) ตรวจพิจารณาเรื่องอายุความ
ี
หากมได้มการแจ้งเหตต่อพนกงานเจ้าหน้าท หรอมได้มการร้องทกข์ต่อพนกงาน
่
ิ
ั
ั
ุ
ี
ิ
ื
ุ
ี
สอบสวนภายในสามเดือนนับแต่ผู้เสียหายอยู่ในวิสัยและมีโอกาสท่จะแจ้งหรือร้องทุกข์ได้แล้ว
ี
้
ั
คดีย่อมขาดอายุความ ตามมาตรา ๗ ท้งน ต้องอยู่ภายใต้อายุความตาม ประมวลกฎหมายอาญา
ี
มาตรา ๙๕ ด้วย
(๔) ตรวจพิจารณาเรื่องการผัดฟ้อง
ระยะเวลาการฟ้องและการผัดฟ้องในคดีความรุนแรงในครอบครัวในศาลเยาวชน
และครอบครัวอาจแบ่งได้เป็น ๒ ประการดังนี้
ึ
ี
ก. ในคดีท่ผู้กระทาความรุนแรงในครอบครัว มีอายุสิบแปดปีบริบูรณ์ข้นไป
�
พนักงานสอบสวนต้องส่งสานวนการสอบสวนพร้อมท้งความเห็นและตัวผู้กระทาความรุนแรง
�
�
ั