Page 170 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 170
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 169
อัยการสูงสุดว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๑๕๕ ถึงข้อ ๑๕๗ โดยจัดท�าเป็นบันทึกการฟ้อง
ี
คดีอาญาด้วยวาจา ส่วนรูปแบบการฟ้องคดีอาญาท่มิใช่การฟ้องคดีด้วยวาจา ให้พนักงานอัยการ
จัดท�าค�าฟ้องเต็มรูปเหมือนการฟ้องคดีอาญาทั่วไป
อนึ่ง หากเป็นการยื่นฟ้องผู้ปกครองหรือญาติของเด็กในความผิดฐานทารุณกรรม
ู
็
ุ
�
้
ี
้
ี
่
ี
่
็
้
้
้
เดกแลว และมความเสยงทเดกจะถกทารณกรรมซา ใหพนกงานอยการยนคารองขอไปพรอมกบ
ั
�
ั
ั
่
ื
ค�าฟ้อง เพื่อขอศาลก�าหนดมาตรการคุ้มครองชั่วคราว ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา ๔๓
วรรคหนึ่ง หรือ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงฯ มาตรา ๑๑ แล้วแต่กรณี
๓.๑.๔ กำรด�ำเนินคดีในชั้นศำล
ั
ื
�
เน่องจากท้ง พ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฯ และ พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มิได้กาหนดวิธีพิจารณา
คดีตามกฎหมายคุ้มครองเด็กไว้โดยเฉพาะ แต่ พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๖ ได้บัญญัติให้น�า
ั
บทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการจัดต้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง
�
พ.ศ. ๒๔๙๙ มาใช้บังคับด้วย ดังน้น การดาเนินคดีตามกฎหมายคุ้มครองเด็กซ่งมีอัตราโทษ
ั
ึ
�
ไม่เกินอานาจของศาลแขวง จึงต้องนาวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวงและ ประมวลกฎหมาย
�
ี
วิธีพิจารณาความอาญามาใช้กับคดีดังกล่าวในศาลเยาวชนและครอบครัวเท่าท่ไม่ขัดกับ
พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ ด้วย
๓.๑.๕ กำรด�ำเนินคดีชั้นอุทธรณ์ ฎีกำ
�
สาหรับการพิจารณาอุทธรณ์ฎีกาคาพิพากษาให้ปฏิบัติตามบทบัญญัติใน พ.ร.บ.
�
ั
จัดต้งศาลแขวงฯ มาตรา ๒๒ และ ๒๒ ทวิ, ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ิ
ั
�
โดยพนกงานอยการเจ้าของสานวนเป็นผู้รบผดชอบดาเนินการในช้นอุทธรณ์และฎีกาเอง
ั
�
ั
ั
�
ื
�
เน่องจากระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการดาเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๑๙๐ กาหนดว่าไม่ให้
�
ี
�
�
�
ั
นาความในหมวด ๓ การดาเนินคดีช้นศาลสูงมาใช้บังคับกับการดาเนินคดีอาญาท่อยู่ในอานาจ
�
ของศาลเยาวชนและครอบครัว และระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการดาเนินคดีอาญา
�
�
�
ี
ช้นศาลสูงของพนักงานอัยการ พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้อ ๙ กาหนดว่าระเบียบน้ไม่ใช้บังคับแก่คดีอาญา
ั
ที่อยู่ในอ�านาจของศาลเยาวชนและครอบครัว นอกจากนั้นในชั้นฎีกา พนักงานอัยการเจ้าของ
�
�
สานวนต้องคัดคาพิพากษาศาลฎีกาส่งสานักงานอัยการสูงสุด โดยหัวหน้าพนักงานอัยการเป็น
�