Page 165 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 165
164 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
๓. กำรด�ำเนินคดีอำญำที่มีข้อหำว่ำบุคคลซึ่งมิใช่เด็กหรือเยำวชนกระท�ำควำมผิด
ซึ่งมีกฎหมำยบัญญัติให้เป็นอ�ำนำจหน้ำที่ของศำลเยำวชนและครอบครัว
๓.๑ พระรำชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
ี
�
ื
เน่องจาก พ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฯ เป็นกฎหมายพิเศษท่กาหนดให้ศาลเยาวชนและ
ี
�
ครอบครัวมีอานาจพิจารณาคดีอาญาท่ผู้ใหญ่เป็นผู้กระทาความผิดตาม พ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฯ ด้วย
�
ดังนั้น การตรวจรับส�านวนการสอบสวน และการพิจารณาส�านวนจึงมีลักษณะที่แตกต่างจาก
การพิจารณาส�านวนการสอบสวนซึ่งเด็กหรือเยาวชนเป็นผู้กระท�าความผิด
๓.๑.๑ กำรตรวจรับส�ำนวนกำรสอบสวน
ความผิดตาม พ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฯ มีอัตราโทษอยู่ในอ�านาจศาลแขวง ซึ่ง พ.ร.บ.
�
ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๖ กาหนดให้นากฎหมายว่าด้วยการจัดต้งศาลแขวงและวิธีพิจารณา
ั
�
ความอาญาในศาลแขวงมาใช้บังคับในศาลเยาวชนและครอบครัวด้วย โดยนามาใช้เฉพาะกับ
�
�
�
�
ผู้กระทาผิดซ่งไม่ใช่เด็กหรือเยาวชนในขณะกระทาผิด และเป็นคดีซ่งมีอัตราโทษไม่เกินอานาจ
ึ
ึ
�
ั
ู
ั
ี
่
ศาลแขวงทอยู่ในอานาจของศาลเยาวชนและครอบครว ตามระเบยบส�านกงานอัยการสงสุด
ี
ว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๒๐๐
�
ั
ดังน้น การดาเนินคดีตาม พ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฯ จึงแบ่งได้เป็นสองประเภทตาม
สารบบคดี ดังต่อไปนี้
ก. กรณีท่ผู้ต้องหาให้การปฏิเสธ ให้รับสานวนแบบสานวนคดีอาญาท่วไป คือ
ั
�
�
ี
ส�านวน ส.๑
ข. กรณีท่ผู้ต้องหาให้การรับสารภาพตลอดข้อกล่าวหาต่อพนักงานสอบสวน
ี
ให้รับสานวนแบบสานวนคดีฟ้องด้วยวาจา คือ สานวน ส.๔ (คดีฟ้องด้วยวาจา) โดยสานวน
�
�
�
�
ประเภทน้จะไม่มีการลงรับในสารบบรับความอาญาปรากฏผู้ต้องหา (ส.๑) แต่จะลงในสารบบ
ี
ฟ้องความอาญาด้วยวาจา (ส.๔) ธรรมดา โดยหน้าปกสารบบต้องระบุไว้ว่า “สารบบฟ้องความ
อาญาด้วยวาจา” โดยถือเป็นสารบบรับและฟ้องร่วมกัน การรับส�านวนประเภทนี้จะต้องเป็น
ี
กรณีท่ผู้ต้องหาให้การรับสารภาพ จึงจะสามารถฟ้องด้วยวาจาได้ ตาม พ.ร.บ.จัดต้งศาลแขวง
ั