Page 163 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 163
162 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
ี
�
ื
ในกรณีน้พนักงานสอบสวนจะทาความเห็นควรส่งไม่ฟ้องผู้ต้องหา เน่องจากผู้ต้องหา
ั
ั
ไม่ต้องรับโทษ ตาม ปอ. มาตรา ๗๓ ดังน้น จึงไม่ต้องส่งตัวผู้ต้องหามาให้พนักงานอัยการ
ั
ั
และไม่ต้องมีรำยงำนกำรสืบเสำะของสถำนพินิจ ดงนน การรับสานวนการสอบสวนจึงต้อง
�
้
ลงรับในสารบบ ส.๒
ค. กำรท�ำควำมเห็นและค�ำสั่ง
ื
ให้พนักงานอัยการใช้ดุลพินิจพิจารณาสานวนการสอบสวน เม่อพิจารณาสานวน
�
�
การสอบสวนดังกล่าวแล้ว เห็นว่า
(๑) ผู้ต้องหาเป็นเด็กอายุยังไม่เกินสิบปีได้กระทาการอันกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด
�
ั
�
ให้พนักงานอัยการส่งคดีว่า “ผู้ต้องหาเป็นเด็กอายุยังไม่เกินสิบปีกระทาการอันกฎหมาย
ั
บัญญัติเป็นความผิด แต่เด็กน้นไม่ต้องรับโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๓ จึงส่ง
ั
ยุติการด�าเนินคดี” โดยไม่ต้องปฏิบัติตามมาตรา ๑๔๕ หรือ ๑๔๕/๑ แห่ง ประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา
�
ั
�
ั
ภายหลังจากท่ได้มีคาส่งยุติการดาเนินคดีแล้ว ต้องแจ้งคาส่งยุติการดาเนินคด ี
�
ี
�
ให้พนักงานสอบสวนทราบ เพ่อแจ้งให้ผู้ต้องหาและผู้ร้องทุกข์ทราบโดยเร็ว โดยใช้ข้อความ
ื
ตามแบบ อ.ก. ๒๗ ก. เช่นเดียวกับคดีอาญาทั่วไป
(๒) ผู้ต้องหาเป็นเด็กอายุยังไม่เกินสิบปีไม่ได้กระทาการอันกฎหมายบัญญัติเป็น
�
ความผิด ให้มีค�าสั่งไม่ฟ้องต่อไป โดยต้องปฏิบัติตามมาตรา ๑๔๕ หรือ ๑๔๕/๑ แห่ง ประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา แล้วแต่กรณีด้วย
ี
ในระหว่างการสอบสวน หากมีข้อสงสัยเก่ยวกับอายุของเด็กท่ถูกจับกุมหรือควบคุม
ี
�
พนักงานสอบสวนยังคงมีอานาจดาเนินการสอบสวนต่อไป หากภายหลังปรากฎว่าผู้ต้องหา
�
เป็นเด็กอายุยังไม่เกินสิบปีในขณะกระทาความผิดและอยู่ในความควบคุมของสถานพินิจ
�
หรือองค์การอ่นใด สถานพินิจหรือองค์การดังกล่าวต้องรายงานให้ศาลทราบ เพ่อศาลมีคาส่ง
ั
�
ื
ื
ั
ั
ปล่อยตัวเด็กน้น และพนักงานสอบสวนต้องดาเนินการส่งตัวเด็กอายุยังไม่เกินสิบปีน้น
�
�
ื
ี
ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฯ เพ่อดาเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพ ในโอกาสแรก
ี
ั
ี
ี
�
ี
ั
ท่กระทาได้ แต่ต้องภายในเวลาไม่เกินย่สิบส่ช่วโมงนับแต่เวลาท่เด็กอายุยังไม่เกินสิบปีน้น