Page 164 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 164
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 163
�
ี
มาถึงท่ทาการของพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๗๗
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๙
�
�
ี
�
ี
สาหรับการดาเนินการเก่ยวกับสานวนการสอบสวนท่พนักงานสอบสวนส่งมาในกรณีที ่
ปรากฏภายหลังว่าผู้ต้องหาเป็นเด็กอายุยังไม่เกินสิบปี พนักงานอัยการต้องปฏิบัติตามหนังสือ
ส�านักงานอัยการสูงสุด ที่ อส ๐๐๐๗(พก)/ว ๔๔๓ ลงวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๐ (ดูผนวก ๗๘)
ดังกล่าวด้วย
ข้อสังเกต
�
๑. หากพนักงานอัยการพิจารณาแล้วเห็นว่า เด็กไม่ได้กระทาผิดหรือพยานหลัก
�
ี
ี
ฐานไม่พอฟ้อง แต่หากเห็นว่าเด็กอยู่ในสภาพท่เส่ยงต่อการกระทาผิดแล้ว ควรพิจารณาถึง
การคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตาม พ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา ๔๐ (๒) ประกอบ มาตรา ๔๔ ด้วย
๒. ถ้าปรากฏภายหลังว่าผู้ต้องหาเป็นเด็กอายุยังไม่เกินสิบปี และผู้ต้องหาได้รับ
ั
่
�
ั
้
ั
ิ
�
การปล่อยตวชวคราว กฎหมายไม่ได้กาหนดให้ผู้อานวยการสถานพนจรายงานศาล ดงนน
ิ
ั
�
ั
ี
น่าจะเป็นหน้าท่ของพนักงานสอบสวนท่จะต้องรายงานศาลโดยตรงเพ่อให้ศาลมีคาส่งส่งตัวเด็ก
ื
ี
ดังกล่าวให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฯ โดยไม่ต้องมีค�าสั่งให้ปล่อยตัวเด็กอีก
๒.๓ กำรห้ำมมิให้ผู้เสียหำยฟ้องคดีอำญำ
กรณีเด็กอายุยังไม่เกินสิบปีกระทาการอันกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด น้น
�
ั
ุ้
ั
่
ั
เนืองจากเด็กนนไม่อยู่ภายใต้บังคับ พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ ดังน้นจึงไม่ได้รับการคมครอง ตาม พ.ร.บ.
้
่
ึ
็
ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๙๙ ทห้ามมให้ผู้เสียหายฟ้องคดอาญาซงมีข้อหาว่าเดกหรอเยาวชน
ื
ี
ิ
่
ี
กระทาความผิดต่อศาลเยาวชนและครอบครัว เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากผู้อานวยการ
�
�
�
ั
สถานพินิจ ดังน้น จึงได้มีการกาหนดการคุ้มครองเด็กอายุยังไม่เกินสิบปีในกรณีดังกล่าวไว้
ึ
ิ
ในพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๖๙/๑ วรรคสาม ซ่งแก้ไขเพ่มเติมโดยพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ.๒๕๕๙ มาตรา ๖ ว่า ถ้าเด็กอายุยังไม่เกินสิบปีกระท�าความผิด และพนักงาน
ั
�
สอบสวนดาเนินการตาม มาตรา ๖๙/๑ วรรคหน่ง วรรคสองแล้ว ห้ามมิให้ผู้เสียหายฟ้องเด็กน้น
ึ
เป็นคดีอาญาต่อศาลใด ซ่งหมายความว่าห้ามฟ้องคดีอาญาทุกศาล โดยไม่มีข้อยกเว้น แต่ไม่ห้าม
ึ
ฟ้องคดีแพ่ง