Page 160 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 160
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 159
๒. กำรด�ำเนินคดีอำญำที่มีข้อหำว่ำเด็กอำยุยังไม่เกินสิบปีกระท�ำควำมผิด
ื
ี
เน่องจากได้ม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและ
ครอบครัว (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกมาใช้บังคับ ยกเลิกบทนิยามค�าว่า “เด็ก” ในมาตรา ๔
แห่ง พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓
ี
และให้ใช้ความใหม่ว่า “เด็ก” หมายความว่า บุคคลซ่งมีอายุเกินกว่าอายุท่กาหนดไว้ตาม
ึ
�
มาตรา ๗๓ แห่งประมวลกฎหมายอาญา แต่ยังไม่เกินสิบห้าปีบริบูรณ์ ท�าให้โดยหลักการแล้ว
�
ึ
เด็กอายุยังไม่เกินสิบปีซ่งต้องหาว่ากระทาความผิดอาญา ไม่อยู่ในอานาจพิจารณาพิพากษาของ
�
พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ อีกต่อไป อย่างไรก็ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ ท่แก้ไขใหม่ดังกล่าวได้บัญญัต ิ
ี
ั
่
ี
ี
ี
่
ี
ิ
่
ู
ิ
ุ
็
่
ั
ิ
หลกเกณฑและวธการทเกยวกบเดกอายยงไมเกนสบปอย ในมาตรา ๖๙/๑ วรรคสอง วรรคสาม
ั
์
�
�
และแก้ไขมาตรา ๗๗ โดยยกเลิกอานาจหน้าท่เก่ยวกับการสอบสวนและการทาความเห็น
ี
ี
�
ั
ส่งคดีของพนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการไปทั้งหมด ทาให้การดาเนินคดีอาญาท่มีข้อหา
�
ี
ว่าเด็กอายุยังไม่เกินสิบปีกระท�าความผิดเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมทั้งหมด ดังนั้น ในกรณีที่เด็ก
�
อายุยังไม่เกินสิบปีกระทาการอันกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด จึงต้องแยกพิจารณาดาเนินการ
�
ตามกฎหมายที่แก้ไขใหม่ ดังนี้
ั
�
ี
๒.๑ กรณีควำมผิดน้นเป็นคดีท่อยู่ในอำนำจเปรียบเทียบของพนักงำนสอบสวน
หรือเจ้ำพนักงำนอื่น
ี
�
กรณีท่เด็กอายุยังไม่เกินสิบปีกระทาการอันกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด และ
�
ั
ความผิดน้นกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอานาจเปรียบเทียบของพนักงานสอบสวนหรือเจ้าพนักงาน
ั
ื
อ่น ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๖๙/๑ วรรคสอง ประกอบวรรคแรก น้น ถือเป็นการหันเหคด ี
ั
ื
ออกจากกระบวนการยุติธรรมในช้นพนักงานสอบสวนและเจ้าพนักงานอ่น โดยมีหลักเกณฑ์
และวิธีการ ดังนี้
(๑) เป็นการกระท�าครั้งแรก
(๒) ให้พนักงานสอบสวนและเจ้าพนักงานอื่น เรียกเด็ก บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือ
บุคคลหรือผู้แทนองค์การที่เด็กนั้นอาศัยอยู่ด้วย มาว่ากล่าวตักเตือน
(๓) ถ้าเด็กส�านึกในการกระทา และบิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคลหรือผู้แทน
�
องค์การที่เด็กนั้นอาศัยอยู่ด้วย สามารถดูแลเด็กได้