Page 204 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 204

คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 203





                                                         ส่วนที่ ๕


                               กำรด�ำเนินคดีเกี่ยวกับกำรละเมิดสิทธิควบคุมดูแลเด็ก





                              ื
                         เน่องด้วยประเทศไทยได้เข้าเป็นภาค อนุสัญญาว่าด้วยลักษณะทางแพ่งในการ
                                                                ี
                   ลักพาเด็กข้ามชาต ค.ศ. ๑๙๘๐ ซ่งมีสาระสาคัญเป็นกฎหมายระหว่างประเทศท่รัฐภาคีได้ตกลง
                                    ิ
                                                 ึ
                                                          �
                                                                                          ี
                   ร่วมกันโดยเชื่อมั่นว่าในเรื่องที่เกี่ยวกับอ�านาจปกครองเด็กนั้น ประโยชน์ของเด็กเป็นสิ่งส�าคัญ
                                                                                                 ี
                                        ี
                   สูงสุด และปรารถนาท่จะปกป้องเด็กในระดับระหว่างประเทศให้พ้นจากภยันตรายท่เกิดจาก
                   การถูกพาตัวไปหรือกักตัวไว้โดยมิชอบ และจัดให้มีกระบวนการในการช่วยเหลือระหว่างรัฐภาค   ี

                                                                                     ั
                                                          ี
                                                 ี
                                                       ิ
                      ื
                   เพ่อส่งคืนเด็กกลับสู่ประเทศท่เป็นถ่นท่อยู่ปกติโดยรวดเร็ว รวมท้งจะรับรองให้มีการ
                                  ี
                   คุ้มครองสิทธิท่จะได้พบและเย่ยมเยียนซ่งกันและกัน ดังน้น โดยผลแห่งพันธะกรณีตาม
                                                 ี
                                                                           ั
                                                           ึ
                   อนุสัญญาดังกล่าว ประเทศไทยจึงได้ตราพระราชบัญญัติความร่วมมือระหว่างประเทศ
                   ในทางแพ่งเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิควบคุมดูแลเด็ก พ.ศ. ๒๕๕๕ ขึ้น ซึ่งมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่
                   ๙ เมษายน ๒๕๕๖ และมีระเบียบของผู้ประสานงานกลางว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือและ
                                                                                                   ี
                   การขอความช่วยเหลือตามกฎหมายว่าด้วยความร่วมมือระหว่างประเทศในทางแพ่งเก่ยวกับ
                   การละเมิดสิทธิควบคุมดูแลเด็ก พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๖ (ผนวก ๘๔) เพื่อใช้

                   เป็นแนวทางปฏิบัติด้วย


                   ๑. หลักเกณฑ์ในกำรพิจำรณำ



                                                                              ี
                                 ่
                         โดยท  พ.ร.บ.ความร่วมมือระหว่างประเทศในทางแพ่งเก่ยวกับการละเมิดสิทธิควบคุม
                                 ี
                                                                      ึ
                   ดูแลเด็ก  พ.ศ. ๒๕๕๕ น กาหนดให้ผู้ประสานงานกลาง ซ่งหมายถึง อัยการสูงสุดหรือผู้ท่อัยการ
                                                                                                  ี
                                         ี
                                           �
                                         ้
                   สูงสุดมอบหมาย ให้ความช่วยเหลือแก่ต่างประเทศ กรณีผู้อ้างว่าถูกละเมิดสิทธิควบคุมดูแลเด็ก
                                                                                   ี
                                                                                ิ
                                  ึ
                   ขอให้ส่งตัวเด็กซ่งถูกลักพาตัวมาหรือกักตัวไว้ในประเทศไทยกับคืนถ่นท่อยู่ปกติเป็นแห่งสุดท้าย
                   ของเด็กในต่างประเทศก่อนถูกพาตัวมาหรือกักตัวไว้ หรือกรณีผู้อ้างว่าถูกละเมิดสิทธิในการพบ
                   และเย่ยมเยียนเด็กในประเทศไทย ขอใช้สิทธิในการพบและเย่ยมเยียนเด็ก และเก่ยวกับการ
                                                                                               ี
                         ี
                                                                            ี
                   ขอความช่วยเหลือไปยังต่างประเทศเพ่อขอใช้สิทธิในการควบคุมดูแลเด็ก และขอใช้สิทธิในการ
                                                      ื
                                                                                     �
                            ี
                   พบและเย่ยมเยียนเด็กในต่างประเทศ และอัยการสูงสุดได้มอบหมายให้สานักงานต่างประเทศ
                                                                       �
                                                                                 ื
                   รับผิดชอบงานความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่อง งานดาเนินการเร่องการลักพาเด็กข้ามชาต    ิ
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209