Page 206 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 206
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 205
ี
(๑) ประเทศไทยและรัฐภาคีท่ประเทศไทยให้ความช่วยเหลือต้องเข้าร่วมเป็นภาค ี
ิ
อนุสัญญาว่าด้วยลักษณะทางแพ่งในการลักพาเด็กข้ามชาต ค.ศ. ๑๙๘๐ โดยมีพันธะกรณ ี
ร่วมกันตามอนุสัญญาดังกล่าวเกี่ยวกับการด�าเนินการให้มีการ ส่งตัวเด็กกลับคืนไปยังถิ่นที่อยู่
ปกติแห่งสุดท้าย และขอพบและเยี่ยมเยียนเด็ก
(๒) ผู้อ้างว่าถูกละเมิดสิทธิควบคุมดูแลเด็กมีสิทธิควบคุมดูแลเด็กตามผลของกฎหมาย
ี
ั
ี
คาส่งของศาล หรือเจ้าหน้าท่ของรัฐ หรือผลจากความตกลงท่มีผลตามกฎหมายในขณะท่ม ี
ี
�
การพาตัวเด็กมาหรือกักตัวเด็กไว้ หรือเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้มีอ�านาจในการควบคุมดูแลเด็ก
(๓) เด็กมีถ่นท่อยู่ปกติแห่งสุดท้ายก่อนจะถูกพาตัวมาหรือกักตัวไว้ในรัฐภาคีท ี ่
ิ
ี
ขอความช่วยเหลือนั้น
(๔) เด็กที่ถูกพาตัวมาหรือกักตัวไว้มีอายุต�่ากว่าสิบหกปีบริบูรณ์
(๕) ผู้ประสานงานกลางรับดาเนินการให้ความช่วยเหลือตาม พ.ร.บ.ความร่วมมือ
�
ระหว่างประเทศในทางแพ่งเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิควบคุมดูแลเด็ก พ.ศ. ๒๕๕๕
(๖) การยื่นค�าร้องนี้เพื่อให้ผู้ละเมิดสิทธิควบคุมดูแลเด็กต้องส่งเด็กกลับคืนสู่ประเทศ
ี
ซ่งเด็กมีถ่นท่อยู่ปกติเป็นแห่งสุดท้าย หรือให้ผู้ถูกละเมิดสิทธิควบคุมดูแลเด็กมีสิทธิขอพบและ
ึ
ิ
เยี่ยมเยียนเด็กแล้วแต่กรณี
(๗) คาร้องขอความช่วยเหลือจะต้องมีรายละเอียดข้อมูลและเอกสารหลักฐาน
�
ดังต่อไปนี้
๑. เด็ก
ชื่อและนามสกุล วัน เดือน ปี และสถานที่เกิด ถิ่นที่อยู่ปกติ ใบทะเบียนคนเกิด
ี
หลักฐานทะเบียนบ้าน หนังสือเดินทางหรือบัตรประจาตัวประชาชน (ในกรณีท่มี) รูปพรรณ
�
และรูปถ่าย (ในกรณีที่เป็นไปได้)