Page 31 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 31
30 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีทุกรูปแบบ
่
ี
�
ี
ื
อนุสัญญา ฉบับท ๑๘๒ ว่าด้วยการห้ามและการดาเนินการโดยทันทีเพ่อขจัดรูปแบบท่เลวร้าย
ท่สุดของการใช้แรงงานเด็ก กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
ี
ยุทธศาสตร์ต้นแบบและมาตรการเชิงปฏิบัติของสหประชาชาติในการขจัดความรุนแรงต่อเด็ก
ในด้านการป้องกันอาชญากรรมและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ยุทธศาสตร์ต้นแบบและ
มาตรการเชิงปฏิบัติฉบับปรับปรุงของสหประชาชาติในการขจัดความรุนแรงต่อผู้หญิงในด้าน
การป้องกันอาชญากรรมและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เป็นต้น
�
การพิจารณาใช้ดุลพินิจของพนักงานอัยการเพ่อนาเด็กหรือเยาวชนเข้าสู่กระบวนการ
ื
ยุติธรรมทางอาญาหรือเข้าสู่การพิจารณาของศาล ต้องเป็นไปอย่างรอบคอบ เหมาะสม
�
�
�
ื
เพ่อบาบัด แก้ไข และฟื้นฟูเด็กหรือเยาวชนแต่ละราย โดยไม่คานึงถึงการลงโทษ และจะนา
มาใช้เป็นวิธีการสุดท้ายเมื่อไม่สามารถด�าเนินการแก้ไขได้ด้วยวิธีอื่น นอกจากนี้ การพิจารณา
ใช้ดุลพินิจดังกล่าวต้องสอดคล้องกับข้อเท็จจริงของเด็กหรือเยาวชนแต่ละราย เพ่อเป็นหลัก
ื
�
ั
�
ี
ประกันว่าการดาเนินคดีดังกล่าวเหมาะสมกับพฤติการณ์แห่งคด รวมท้งต้องคานึงถึงการแก้ไข
ที่เด็กหรือเยาวชนแต่ละรายจะพึงได้รับ
ในการใช้ดุลพินิจส่งสานวนคดีท่เด็กหรือเยาวชนเป็นผู้ต้องหา นอกจากพนักงานอัยการ
ี
�
ั
�
�
�
ต้องคานึงถึงปรัชญาและเจตนารมณ์ในการดาเนินคดีแล้ว ให้พิจารณาถึงสาเหตุแห่งการกระทา
ความผิด พฤติการณ์แห่งคดี ความร้ายแรงแห่งการกระท�าความผิด ความเสียหายที่ผู้เสียหาย
ี
และสังคมได้รับ สถานภาพทางครอบครัว การให้โอกาสกลับตนเป็นคนด และผลประโยชน์
ั
สูงสุดท่เด็กหรือเยาวชนพึงจะได้รับประกอบด้วย ท้งน ตามระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
ี
ี
�
้
ว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาของพนักงานอัยการ พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้อ ๑๘๖ และข้อ ๑๘๗
�
ี
หลักกฎหมายท่ใช้ในการดาเนินคดีอาญา คือ พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ
ุ
่
่
ส่วนกฎหมายอนทนามาใช้ประกอบ ได้แก่ พระธรรมนญศาลยติธรรม ประมวลกฎหมายวิธ ี
ี
ื
�
ู
พจารณาความอาญา ประมวลกฎหมายวธพจารณาความแพ่ง และกฎหมายว่าด้วยการจดตง
้
ั
ั
ิ
ี
ิ
ิ
ั
ศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง ท้งน ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับ พ.ร.บ.ศาลเยาวชน
้
ี
และครอบครัวฯ