Page 33 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 33
32 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
กำรตรวจส�ำนวน ส.๑ พนักงานอัยการต้องตรวจส�านวน ส.๑ ทุกประเภท ดังนี้
(๑) ให้ตรวจสอบว่ำขณะกระท�ำควำมผิดผู้ต้องหำเป็นเด็กหรือเยำวชนหรือไม่
โดยพิจารณาตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ มาตรา ๔ และมาตรา ๕ กล่าวคือ
ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๔
“เด็ก” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีอายุเกินกว่าอายุที่ก�าหนดไว้ตามมาตรา ๗๓
แห่งประมวลกฎหมายอาญา แต่ยังไม่เกินสิบห้าปีบริบูรณ์
“เยำวชน” หมายความว่า บุคคลอายุเกินสิบห้าบริบูรณ์ แต่ยังไม่ถึงสิบแปดปี
บริบูรณ์
ิ
วิธีการนับอายุของเด็กหรือเยาวชน ให้เร่มนับแต่วันเกิด ตาม ปพพ. มาตรา ๑๕
ี
่
ั
ี
ในกรณีท่รู้ว่าเกิดเดือนใด แต่ไม่รู้วันเกิดให้นับวันท ๑ แห่งเดือนน้นเป็นวันเกิด แต่ถ้าพ้นวิสัย
ั
ี
ท่จะหย่งรู้เดือนและวันเกิดของบุคคลใด ให้นับอายุบุคคลน้นต้งแต่วันต้นปีแห่งปฏิทิน (วันท ่ ี
ั
ั
๑ มกราคม) ซึ่งเป็นปีที่บุคคลนั้นเกิด (ปพพ. มาตรา ๑๖) และเด็กหรือเยาวชนจะมีอายุครบ
ั
้
ิ
ั
้
ิ
่
ี
้
ี
�
ั
ู
้
๑๘ ปบรบรณ กอนวนคลายวนเกด ดงนน ในคดทผตองหากระทาความผดในวนตรงกบวนคลาย
ี
ิ
ั
้
ั
ั
่
ั
ู
์
�
�
วันเกิด ย่อมไม่อยู่ในอานาจของศาลเยาวชนและครอบครัว ตามนัยคาวินิจฉัยของประธาน
ศาลฎีกา ที่ ยช. ๑๓/๒๕๕๖ (ผนวก ๑) และตามนัยค�าพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๑๐๙/๒๕๔๖
ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๕
�
“คดีอาญาท่มีข้อหาว่าเด็กหรือเยาวชนกระทาความผิด ให้ถืออายุเด็กหรือ
ี
เยาวชนในวันที่การกระท�าความผิดเกิดขึ้น”
ดังนั้น กรณีที่เด็กหรือเยาวชนกระท�าความผิดขณะอายุไม่ถึงสิบแปดปีบริบูรณ์
�
ี
ึ
ั
�
แต่ได้หลบหนีไปจนมีอายุต้งแต่สิบแปดปีข้นไป ก็ต้องนาตัวมาดาเนินคดีท่ศาลเยาวชนและ
ครอบครัว
ความหมายของคาว่า “ให้ถืออายุเด็กหรือเยาวชนในวันท่การกระทาความผิด
�
�
ี
เกิดข้น” คือ ให้ถืออายุในวันท่ลงมือกระทาความผิด แม้จะยังไม่เป็นความผิดสาเร็จก็ตาม
ี
�
ึ
�
เช่น ผู้ต้องหาใช้อาวุธปืนยิงผู้ตายโดยเจตนาฆ่าขณะผู้ต้องหามีอายุ ๑๗ ปี ๑๑ เดือน แต่ผู้ตาย