Page 32 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 32
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 31
ึ
ั
อน่ง กฎหมายว่าด้วยการจัดต้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง
นั้น ใช้บังคับกับการด�าเนินคดีอาญาที่มีข้อหาว่าบุคคลซึ่งมิใช่เด็กหรือเยาวชนกระท�าความผิด
�
ี
ึ
�
ซ่งมีกฎหมายบัญญัติให้เป็นอานาจหน้าท่ของศาลเยาวชนและครอบครัว แต่ไม่นามาใช้บังคับ
กับการด�าเนินอาญาที่มีข้อหาว่าคดีเด็กและเยาวชนกระท�าความผิด เช่น พ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฯ
พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงฯ เป็นต้น
๑.๑ คดีอำญำทั่วไป
ี
ั
�
คดีอาญาท่วไปท่เด็กหรือเยาวชนต้องหาว่ากระทาความผิด การพิจารณาตรวจสานวน
�
พิจารณาสั่ง การฟ้องคดี และการด�าเนินคดีในศาล ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ดังนี้
กำรตรวจส�ำนวน
ี
�
สานวนการสอบสวนคดีอาญาท่พนักงานสอบสวนส่งมาและพนักงานอัยการ
ต้องพิจารณาดาเนินการตามกฎหมายและระเบียบของสานักงานอัยการสูงสุด น้น ได้แก่
�
ั
�
ส�านวน ส.๑, ส�านวน ส.๒ และส�านวน ส.๓
ส�ำนวน ส.๑ คือ สานวนคดีอาญาปรากฏตัวผู้ต้องหาท่ส่งตัวมา นอกจากน้น
�
ั
ี
ยังหมายความรวมถึงส�านวนอีก ๓ ประเภท คือ
- ส�านวน ส.๑ ที่มีการใช้มาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญา
ี
ึ
�
�
- สานวน ส.๑ (รอส่งตัว) คือ สานวนคดีอาญาท่ผู้ต้องหาซ่งถูกแจ้งข้อหา
ได้หลบหนีไป ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๔๒ วรรคสาม
�
- สานวน ส.๑ ฟ คือ สานวนคดีฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ตามพ.ร.บ.
�
ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.๒๕๔๕
ส�ำนวน ส.๒ คือ ส�านวนคดีอาญาปรากฏตัวผู้ต้องหาที่ไม่ได้ส่งตัวมา
ส�ำนวน ส.๓ คือ ส�านวนคดีอาญาที่ไม่ปรากฏตัวผู้กระท�าความผิด