Page 43 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 43
42 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
ื
้
ู
ู
่
ั
ั
้
ั
�
ั
ื
อย่ตอหน้าพนกงานสอบสวน หรอมีผนาตวเด็กหรอเยาวชนนนเข้ามอบตัวต่อพนกงานสอบสวน
ี
และคดีน้นเป็นคดีท่ต้องพิจารณาพิพากษาในศาลเยาวชนและครอบครัว พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ
ั
ก�าหนดให้พนักงานสอบสวนด�าเนินการ
ื
ื
ื
- สอบถามเด็กหรือเยาวชนในเบ้องต้น แล้วแจ้งเร่องท่เดกหรอเยาวชนถูก
ี
็
ี
กล่าวหาให้บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคลหรือองค์การท่เด็กหรือเยาวชนอาศัยอยู่ด้วยทราบ
ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๗๐ วรรคหนง ซงแก้ไขเพมเตมโดย พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ
่
ิ
ิ
่
่
ึ
ึ
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๙
- การสอบถามเบื้องต้น ต้องกระท�าในสถานที่ที่เหมาะสม โดยไม่เลือก
ี
ั
ื
ี
ี
ื
ปฏิบัติและไม่ปะปนกับผู้ต้องหาอ่น หรือมีบุคคลอ่นท่ไม่เก่ยวข้องอยู่ในสถานท่น้นอันมีลักษณะ
เป็นการประจานเด็กหรือเยาวชน ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๗๐ วรรคสอง
ั
ี
�
- แจ้งให้ผู้อานวยการสถานพินิจท่เด็กหรือเยาวชนน้นอยู่ในเขตอานาจ
�
เพื่อด�าเนินการตามมาตรา ๘๒
ื
ื
- เม่อพนักงานสอบสวนสอบถามเบ้องต้น ตามมาตรา ๗๐ วรรคสาม
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ แล้ว หากปรากฏหลักฐาน
ตามสมควรว่าเด็กหรือเยาวชนน่าจะได้กระทาความผิดตามท่ถูกกล่าวหา พนักงานสอบสวน
�
ี
�
จะแจ้งข้อกล่าวหาและสอบปากคาเด็กหรือเยาวชนในโอกาสเดียวกันก็ได้ แต่ต้องดาเนินการ
�
ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๗๕ ด้วย
- ในกรณีเด็กหรือเยาวชนเข้ามอบตัวต่อพนักงานสอบสวน หากพนักงาน
�
ั
�
สอบสวนเห็นว่าจาเป็นต้องควบคุมตัวเด็กหรือเยาวชนน้นไว้ในระหว่างสอบสวน ต้องดาเนินการ
ี
ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๓๔ โดยอนุโลมตามท่บัญญัติไว้ใน
มาตรา ๗๑ แห่ง พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ เพื่อขอให้ศาลมีค�าสั่งควบคุมตัวเด็กหรือเยาวชนซึ่งเป็น
�
�
ื
ั
ผู้ต้องหาไว้ในระหว่างสอบสวน เม่อศาลมีคาส่งควบคุมตัวเด็กหรือเยาวชนไว้ในอานาจของ
ศาลแล้ว ศาลอาจมีคาส่งอนุญาตให้ปล่อยตัวช่วคราวไปก็ได้ ซ่งกรณีน้ถือว่าเด็กหรือเยาวชน
�
ั
ึ
ี
ั
�
�
อยู่ในอานาจของศาลแล้วพนักงานสอบสวนไม่ต้องส่งตัวเด็กหรือเยาวชนมาพร้อมสานวน
การสอบสวนด้วย