Page 46 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 46
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 45
ื
�
รีบทาการสอบสวนและส่งสานวนการสอบสวนพร้อมความเห็นไปยังพนักงานอัยการเพ่อให้
�
ี
ื
พนักงานอัยการย่นฟ้องเด็กหรือเยาวชนต่อศาลให้ทันภายในสามสิบวันนับแต่วันท่เด็กหรือ
เยาวชนนั้นถูกจับกุมหรือปรากฏตัวอยู่ต่อหน้าพนักงานสอบสวนแล้วแต่กรณี
หากเกิดความจาเป็นไม่สามารถฟ้องเด็กหรือเยาวชนต่อศาลได้ทันภายใน
�
สามสิบวัน พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ ต้องยื่นค�าร้องขอผัดฟ้องต่อศาล ดังต่อไปนี้
- ในกรณีความผิดอาญาท่มีอัตราโทษอย่างสูงตามท่กฎหมายกาหนดให้
ี
�
ี
�
�
จาคุกเกินหกเดือนแต่ไม่เกินห้าปี ไม่ว่าจะมีโทษปรับด้วยหรือไม่ก็ตาม หากเกิดความจาเป็น
ั
ื
ไม่สามารถฟ้องเด็กหรือเยาวชนนั้นได้ทัน ให้ย่นคาร้องต่อศาลเพ่อขอผัดฟ้องอีกคร้งๆ ละไม่เกิน
�
ื
สิบห้าวัน แต่ต้องไม่เกินสองครั้ง
- ในกรณีความผิดอาญาที่มีอัตราโทษอย่างสูงตามที่กฎหมายก�าหนดไว้ให้
ื
ื
ั
ุ
�
ั
จาคุกเกินห้าปี ไม่ว่าจะมีโทษปรบด้วยหรอไม่ก็ตาม เม่อศาลอนญาตให้ผัดฟ้องครบสองคร้งแล้ว
�
หากพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการย่นคาร้องขอผัดฟ้องต่อศาล โดยอ้างเหตุจาเป็น
�
ื
ให้ยื่นค�าร้องต่อศาลเพื่อขอผัดฟ้องต่อไปได้อีก ในกรณีเช่นนี้ ศาลมีอ�านาจอนุญาตให้ผัดฟ้อง
ต่อไปอีกครั้งละไม่เกินสิบห้าวัน แต่ทั้งนี้ ต้องไม่เกินสองครั้ง ในกรณีที่เด็กหรือเยาวชนซึ่งเป็น
ผู้ต้องหาหลบหนีจากการควบคุมในระหว่างสอบสวน มิให้นับระยะเวลาท่หลบหนีน้นรวมเข้าไป
ั
ี
ั
ึ
ในกาหนดระยะเวลาตามมาตรา ๗๘ ซ่งอาจเกิดข้นได้ท้งการควบคุมตัวในช้นเจ้าพนักงานตารวจ
�
ึ
ั
�
ก่อนส่งไปตรวจสอบการจับกุม ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๖๙, ๗๐ และ ๗๒ และเมื่อ
�
พนักงานสอบสวนส่งตัวผู้ต้องหาไปตรวจสอบการจับต่อศาลแล้ว ศาลอาจมีคาส่งให้ควบคุม
ั
ี
ื
ี
ึ
ั
ี
ตัวผู้ต้องหาไว้ท่สถานพินิจหรือสถานท่อ่นท่จัดต้งข้นตามกฎหมาย ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ
มาตรา ๗๓ และ ๗๔
ข้อสังเกต
ึ
(๑) ในการพิจารณาคาร้องขอผัดฟ้องคร้งแรก ถ้าเด็กหรือเยาวชนซ่งเป็นผู้ต้องหา
ั
�
ี
ยังไม่มีท่ปรึกษากฎหมาย ศาลจะแต่งต้งท่ปรึกษากฎหมายให้เพ่อแถลงข้อคัดค้าน และถ้าเด็กหรือ
ื
ี
ั
เยาวชนน้นยังไม่ได้อยู่ในอานาจของศาล พนักงานสอบสวนต้องมีตัวเด็กไปในการขอผัดฟ้องด้วย
�
ั