Page 51 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 51
50 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
ั
รองอัยการสูงสุดขณะน้น (นายดิเรก สุนทรเกตุ) พิจารณาแล้วเห็นว่า พ.ร.บ.
ั
จัดต้งศาลเยาวชนฯ ไม่ได้บัญญัติบังคับว่าพนักงานสอบสวนจะต้องได้รับรายงานการสืบเสาะ
ั
่
ิ
�
่
ั
็
ิ
้
้
�
ู
กอนทาความเหนเสนอพนกงานอยการ แตในมาตรา ๕๕ (๒) ไดบญญตใหผอานวยการสถานพนจฯ
ั
้
ิ
ั
ั
ส่งรายงานและความเห็นน้นไปยังพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ แล้วแต่กรณ ี
ั
ึ
ั
ซ่งย่อมมีความนัยว่ารายงานการสืบเสาะน้นอาจไม่ได้ส่งมาพร้อมสานวนการสอบสวนก็ได้ ดังน้น
�
พนักงานสอบสวนย่อมเป็นผู้พิจารณาว่าการสอบสวนเสร็จเม่อใด เว้นแต่กฎหมายบัญญัติไว้
ื
เป็นพิเศษ ซ่งหากต่อมาพนักงานอัยการเห็นว่าการสอบสวนยังไม่เสร็จส้น ย่อมมีอานาจ
ึ
ิ
�
ิ
ส่งสอบสวนเพ่มเติมได้ อย่างไรก็ตามเห็นว่าข้อมูลจากรายงานการสืบเสาะน้นย่อมเป็นข้อมล
ั
ั
ู
ประกอบการพิจารณาสั่งฟ้องหรือไม่ฟ้องคดีของพนักงานอัยการ ทั้งระเบียบส�านักงานอัยการ
สูงสุดว่าด้วยการดาเนินคดีอาญาของพนักงานอัยการซ่งอยู่ในเขตอานาจของศาลเยาวชนฯ
ึ
�
�
�
ก็กาหนดไว้ชัดเจนว่า ให้พนักงานอัยการคานึงถึงการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กและเยาวชนย่งกว่า
�
ิ
การลงโทษ ดังน้น พนักงานอัยการจะฟ้องคดีโดยไม่ได้พิจารณารายงานการสืบเสาะไม่ได้ ดังน้น
ั
ั
แม้ว่ากฎหมายจะไม่ได้บัญญัติบังคับไว้โดยชัดแจ้งให้พนักงานสอบสวนต้องส่งรายงาน
การสืบเสาะมาให้พนักงานอยการก็ตาม แต่เม่อพนักงานอัยการมีหน้าท่ต้องพิจารณาข้อเทจจรง
ี
ิ
็
ั
ื
�
ี
ี
ั
ในรายงานการสืบเสาะประกอบการส่งคด รายงานดังกล่าวจึงเป็นพยานหลักฐานท่จาเป็น
ื
ี
ี
ท่พนักงานสอบสวนต้องรวบรวมส่งให้แก่พนักงานอัยการ “เพ่อท่จะทราบข้อเท็จจริงหรือ
พิสูจน์ความผิด และเพ่อจะเอาผู้กระทาความผิดมาลงโทษ” ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ื
�
ความอาญา มาตรา ๒ (๑๑) นอกจากนั้น ในคดีทั่วไป พนักงานสอบสวนสมควรต้องพิจารณา
ั
ท้งในด้าน “ความผิด” และ “ผู้กระทาผิด” เพ่อให้การลงโทษน้นสอดคล้องกับหลักอาชญา
ั
�
ื
วิทยาและทัณฑวิทยา และวัตถุประสงค์ของการลงโทษ เพราะเหตุน้เป็น ประมวลกฎหมาย
ี
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๓๘ จึงได้บัญญัติให้พนักงานสอบสวนมีอานาจสอบสวน
�
ื
หรือส่งประเด็นไปสอบสวนเพ่อทราบความเป็นมาแห่งชีวิตและความประพฤติอันเป็นอาจิณ
ของผู้ต้องหาด้วย เพ่อให้การลงโทษน้นเหมาะสมสาหรับผู้กระทาผิดน้น ซ่งในทางปฏิบัติพนักงาน
ึ
�
ั
�
ั
ื
สอบสวนและพนักงานอัยการไม่ใคร่ให้ความสาคัญมากนัก ซ่งเป็นเหตุให้การบริหารงาน
ึ
�
ี
้
ั
ยุติธรรมไม่บรรลุเป้าหมาย ดังน้น ในเร่องเด็กและเยาวชนกระทาผิดน พนักงานสอบสวน
ื
�
ั
ิ
ควรต้องพิจารณารายงานการสบเสาะดงกล่าวและเสนอความเหนเพอกาหนดการปฏบตและ
็
ื
ั
ิ
�
่
ื
มาตรการท่เหมาะสมแก่เด็กเยาวชนผู้กระทาความผิดน้นด้วย การแก้ปัญหาความล่าช้าของ
ี
ั
�