Page 52 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 52
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 51
พนักงานสอบสวนนั้นควรใช้วิธีอื่น เช่น ประสานขอความร่วมมือจากต�ารวจ สถานพินิจ หรือ
วิธีการอ่นย่อมดีกว่า และตามกฎหมายแม้ฟ้องไม่ทันกาหนด พนักงานอัยการย่อมขออนุญาต
�
ื
อัยการสูงสุดฟ้องได้อยู่แล้วจึงเห็นว่า พนักงานสอบสวนมีหน้าที่ในการส่งส�านวนการสอบสวน
พร้อมรายงานการสืบเสาะมาให้พนักงานอัยการ
ั
อัยการสูงสุดในขณะน้น (นายสุชาต ไตรประสิทธ์) มีคาส่งว่า “จัดการตามเสนอ”
ิ
�
ั
ต่อมาส�านักงานอัยการสูงสุดจึงได้วางแนวทางปฏิบัติไว้ ตามหนังสือส�านักงาน
่
่
ี
ี
อัยการสูงสุด ท อส ๐๐๑๘(สฝปผ.)/ว ๒๕๕ ลงวันท ๒๗ มิถุนายน ๒๕๔๖ ข้อ ๕ ว่า การดาเนินคด ี
�
ท่อยู่ในอ�านาจพิจารณาของศาลเยาวชนและครอบครัว หากสานวนใดไม่ปรากฏว่าได้มีการ
ี
�
�
ส่งตัวผู้ต้องหาไปยังสถานพินิจและไม่มีรายงานการสืบเสาะรวมไว้ในสานวน พนักงานอัยการ
�
ิ
ั
จะรับสานวนน้นไว้พิจารณาไม่ได้ และได้มีการแก้ไขเพ่มเติมแนวปฏิบัติดังกล่าวตามหนังสือ
ส�านักงานอัยการสูงสุด ที่ อส ๐๐๒๗(ปผ.)/ว ๒๕๐ ลงวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๕๓ ข้อ ๔ และ
หนังสือส�านักงานอัยการสูงสุด ด่วนที่สุด ที่ อส ๐๐๒๗(ปผ.)/ว ๑๒๗ ลงวันที่ ๒๐ พฤษภาคม
ี
๒๕๕๔ ข้อ ๑ ว่า คดีท่ผู้ต้องหาเป็นเด็กหรือเยาวชน ถ้าพนักงานสอบสวนได้ตัวผู้ต้องหามาและ
ั
็
ี
เหนควรส่งฟ้องผู้ต้องหา ต้องมีรายงานแสดงข้อเทจจริงเก่ยวกับเด็กหรอเยาวชนของสถานพินิจ
ื
็
และคุ้มครองเด็กและเยาวชนประกอบในสานวนการสอบสวนด้วย ถ้าไม่มีรายงานดังกล่าว
�
ิ
�
ั
ั
ให้ถือว่าการสอบสวนคดีน้นยังไม่เสร็จส้น ให้พนักงานอัยการมีคาส่งไม่รับหรือคืนสานวน
�
การสอบสวนน้นให้พนักงานสอบสวนรับไปดาเนินการต่อไป ซ่งเป็นท่มาของระเบียบสานักงาน
�
ั
ี
ึ
�
อัยการสูงสุดว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๑๙๑ ดังกล่าว
๒. หลักฐานเกี่ยวกับอายุ
ึ
จะต้องมีหลักฐานอย่างใดอย่างหน่งหรือหลายอย่าง เช่น สาเนาสูติบัตร
�
�
�
�
สาเนาทะเบียนบ้าน สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน หนังสือรับรองจากสานักงานทะเบียนราษฎร์
�
เป็นต้น หากไม่ปรากฏหลักฐานให้ใช้ใบรับรองแพทย์หรือค�ารับรองแพทย์ที่ปรากฏในรายงาน
ของสถานพินิจฯ
้
ู
้
ู
ั
�
ื
้
ั
๓. สาเนาหนงสอแจงการจบกมหรอแจงการดาเนนคดผตองหาไปยงผอานวยการ
�
ั
ุ
ิ
ี
้
ื
้
�
สถานพินิจ