Page 50 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 50
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 49
�
ึ
ี
อน่ง ในหน้ารายงานสถานพินิจต้องมีคารับรองจากเจ้าหน้าท่ศาลประทับมาว่า
ขณะนี้ผู้ต้องหาถูกควบคุมตัวอยู่ หรือได้รับการปล่อยชั่วคราวชั้นศาลด้วย
ในคดีฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด กรณีท่คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ี
ผู้ติดยาเสพติดแจ้งพนักงานสอบสวน หรือพนักงานอัยการว่าผลการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยา
เสพติดไม่เป็นท่พอใจ ได้รับการยกเว้นไม่ต้องมีรายงานการสืบเสาะของสถานพินิจ ตามระเบียบ
ี
ส�านักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญา ฯ ข้อ ๑๙๑ ดังกล่าว
ข้อสังเกต
�
ื
เม่อปี พ.ศ. ๒๕๔๐ เคยมีปัญหาว่าพนักงานสอบสวนต้องส่งสานวนการสอบสวน
พร้อมรายงานการสืบเสาะของสถานพินิจมาให้พนักงานอัยการหรือไม่ ซ่งในปัญหาน ี ้
ึ
่
อดีตอัยการสูงสุด (นายเรวัต ฉาเฉลิม) ขณะดารงตาแหน่งอธิบดีอัยการ สานักงานวิชาการ
�
�
�
�
ิ
มีความเห็นว่า พ.ร.บ.จัดตั้งศาลเยาวชนฯ เป็นกฎหมายที่มีเจตนารมณ์พิเศษต่างจากกฎหมาย
อาญาทั่วไป กล่าวคือ ต้องการให้เยียวยาแก้ไขเด็กฯที่กระท�าผิดยิ่งกว่าการลงโทษ การฟ้องคดี
�
ั
เพ่อให้เด็กฯรับโทษจะกระทาเฉพาะกรณีจาเป็นเท่าน้น ในด้านการสอบสวนฟ้องร้องและ
ื
�
การลงโทษ นั้น เครื่องมือที่ส�าคัญที่สุด คือ การสืบเสาะข้อเท็จจริง ตามมาตรา ๓๔ (๑) การท�า
�
ี
รายงานในคดีท่มีการสืบเสาะและแสดงความเห็นเก่ยวกับสาเหตุแห่งการกระทาของเด็กฯ
ี
ตามมาตรา ๕๕ (๒) ซ่งผู้อานวยการสถานพินิจจะต้องจัดทาแล้วส่งให้พนักงานสอบสวน
ึ
�
�
ี
�
ื
ั
ี
พนักงานอัยการ หรือศาล ท้งน้เพ่อองค์กรต่าง ๆ จะได้วินิจฉัยดาเนินการเก่ยวกับเด็กฯ ได้อย่าง
ื
่
็
ิ
็
ี
เหมาะสมเป็นคน ๆ ไป และแต่ละคดเฉพาะเรองไป ตามมาตรา ๘๒ จงเหนได้ว่าข้อเทจจรง
ึ
ั
ั
้
ั
ดงกล่าวเป็นองค์ประกอบท่สาคญของการดาเนินคดทุกข้นตอนไม่ว่าจะเป็นชนพนักงาน
�
�
ั
ี
ี
สอบสวน พนักงานอัยการ หรือศาล ซ่งจะขาดเสียมิได้ จากเหตุผลของกฎหมายดังกล่าว การท ี ่
ึ
ี
�
�
พนักงานสอบสวนทาการสอบสวนคดีท่เด็กฯกระทาผิดจะส่งสานวนให้พนักงานอัยการโดยไม่ม ี
�
�
รายงานการสืบเสาะและความเห็นของผู้อานวยการสถานพินิจฯ จึงเห็นได้ว่าการสอบสวนยังไม่
ิ
�
เสร็จส้น เพราะยังขาดสาระสาคัญของการสอบสวน ขัดต่อ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา ๑๔๐ และมาตรา ๕๕ แห่งพ.ร.บ.จัดตั้งศาลเยาวชนฯ