Page 53 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 53
52 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
ี
ในกรณีท่มีการจับกุมเด็กหรือเยาวชน พนักงานสอบสวนต้องมีหนังสือแจ้ง
การจับกุมเด็กหรือเยาวชนไปยังผู้อ�านวยการสถานพินิจ ตามพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๗๐
ี
แต่ในกรณีท่ไม่ได้จับกุมผู้ต้องหา เช่น ผู้ต้องหาถูกเรียกมา ส่งตัวมา เข้าหาพนักงานสอบสวนเอง
�
มาปรากฏตัวอยู่ต่อหน้าพนักงานสอบสวน หรือมีผู้นาตัวผู้ต้องหาน้นมอบตัวต่อพนักงาน
ั
สอบสวน จะต้องมีส�าเนาหนังสือแจ้งการด�าเนินคดีไปยังผู้อ�านวยการสถานพินิจแทน
๔. ค�าร้องขอตรวจสอบการจับ พร้อมค�าสั่งศาลในการตรวจสอบการจับ
๕. ส�าเนาค�าร้องผัดฟ้องของพนักงานสอบสวนทุกครั้งพร้อมค�าสั่งศาล
�
๖. ในกรณีผู้ต้องหาถูกคุมขังตามอานาจศาลในคดีธรรมดามาก่อน จะต้องม ี
�
�
ี
�
�
สาเนาคาร้องขอฝากขังของศาลคดีธรรมดา หรือสาเนาคาร้องผัดฟ้องท่ศาลคดีธรรมดา
แล้วแต่กรณีและส�าเนายุติการผัดฟ้องฝากขังของศาลคดีธรรมดามาด้วย
๗. มีรายงานแพทย์ของสถานพินิจมาให้เพ่อประกอบการพิจารณาสภาพร่างกาย
ื
และอายุของเด็กหรือเยาวชน (ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับอายุของผู้ต้องหา)
๘. ค�าให้การชั้นสอบสวนของบิดา มารดา หรือผู้ปกครองของผู้ต้องหา ถ้าสอบ
ปากค�าไม่ได้จะต้องมีหลักฐานการแจ้งให้ทราบแล้วมาแสดงด้วย
๙. ลายพิมพ์น้วมือ และหลักฐานการตรวจสอบประวัติว่าเคยกระทาความผิด
ิ
�
มาก่อนหรือไม่
ี
ึ
๑๐. หลักฐานแสดงการเป็นท่ปรึกษากฎหมายซ่งผ่านการอบรมและข้นทะเบียน
ึ
ในชั้นศาล
๑๑. แผ่นบันทึกภาพและเสียงในการสอบปากคาผู้เสียหาย พยาน และผู้ต้องหา
�
�
ี
ท่เป็นเด็กอายุไม่เกินสิบแปดปี ในช้นสอบสวน ซ่งตรวจสอบแล้วสามารถนาออกถ่ายทอด
ึ
ั
ได้อย่างต่อเนื่อง
�
ื
๑๒. เอกสารอ่นๆ ตามทพนักงานสอบสวนรวบรวมไว้ในสานวนและมีความ
่
ี
จ�าเป็นในการด�าเนินคดี