Page 99 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 99
98 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
�
�
�
๑. สานวนท่ส่งมาขออนุญาตฟ้อง พนักงานสอบสวนต้องทาเป็นรูปสานวน
ี
ี
การสอบสวน คือ ต้องเป็นสานวนการสอบสวนเต็มรูปแบบ ตามท่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
�
�
�
�
ความอาญากาหนดไว้ โดยมีการรวบรวมพยานหลักฐานในสานวนครบถ้วน ต้องสอบคาให้การ
ผู้ต้องหาและต้องสอบสวนให้ถกต้องตามท่กาหนดไว้ในประมวลกฎหมายวิธพิจารณาความ
ี
ู
ี
�
อาญา มาตรา ๑๓๔/๑ มาตรา ๑๓๔/๔ (๑)(๒) และปฏิบัติให้ถูกต้องตาม ประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๓๓ ทวิ มาตรา ๑๓๓ ตรี และมาตรา ๑๓๔/๒ ที่แก้ไข และ
พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๗๕ ด้วย
ี
ี
๒. พนักงานสอบสวนต้องระบุเหตุท่ไม่ได้ขอผัดฟ้อง หรือเหตุท่ขาดผัดฟ้อง
�
�
�
ไว้ในสานวนการสอบสวนด้วย นอกจากน้น สานักงานคดีกิจการอัยการสูงสุดได้กาหนด
ั
แนวปฏิบัติเพ่มเติมว่า หากสาเหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของพนักงานสอบสวน
ิ
�
ิ
ั
ั
่
ี
ื
ิ
ั
ต้องมหนงสอของผ้บงคบบญชาทดาเนนการในส่วนความผดหรอความบกพร่องของพนกงาน
ี
ู
ั
ั
ื
สอบสวนเจ้าของส�านวนแล้ว
ี
�
�
๓. การรับสานวนของพนักงานอัยการต้องลงรับในสารบบตามท่สานักงาน
อัยการสูงสุดก�าหนด ได้แก่
๓.๑ สารบบ ส.๑ ส�านวนคดีอาญาปรากฏตัวผู้ต้องหาที่ส่งตัวมา
๓.๒ สารบบ ส.๒ สานวนคดีอาญาปรากฏตัวผู้ต้องหาท่ไม่ได้ส่งตัวมา
�
ี
เฉพาะส�านวน ส.๒ ที่พนักงานสอบสวนมีความเห็นควรสั่งไม่ฟ้องผู้ต้องหา แต่พนักงานอัยการ
�
มีคาส่งฟ้องผู้ต้องหาแย้งความเห็นพนักงานสอบสวน เช่นน พนักงานอัยการสามารถส่งสานวน
ี
�
ั
้
ส.๒ ดังกล่าวไปขออนุญาตฟ้องต่ออัยการสูงสุด พนักงานอัยการผู้มีตาแหน่งไม่ตากว่าอธิบด ี
�
�
่
อัยการหรืออธิบดีอัยการภาคซึ่งอัยการสูงสุดมอบหมายได้ โดยไม่ต้องรอให้พนักงานสอบสวน
น�าตัวผู้ต้องหามาส่งพนักงานอัยการและโอนส�านวนไปลงสารบบ ส.๑ ก่อน
ี
ี
๓.๓ กรณีท่มการแจ้งข้อหาแก่ผู้ต้องหาแล้ว แต่ผู้ต้องหาหลบหน ี
ชั้นพนักงานสอบสวนตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๔๒ วรรคสาม
ุ
ู
ั
ให้ลงสารบบประเภท สานวน ส.๑ รอส่งตว ตามนยหนงสอสานกงานอยการสงสด
�
ั
ั
ั
ั
�
ื
ที่ อส ๐๐๐๗(พก)/ว ๒๖๗ ลงวันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๗ (ผนวก ๕๓)