Page 104 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 104
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 103
(๖) บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคลซึ่งจ�าเลยอาศัยอยู่ด้วย รวมถึงผู้อ�านวยการ
สถานพินิจตามพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๑๐๔ โดยศาลมีอ�านาจเรียกบุคคลเหล่านี้ รวมถึง
ึ
ื
�
ี
บุคคลซ่งให้การศึกษา ให้ทาการงาน หรือมีความเก่ยวข้องมาเป็นพยานเพ่อสอบถามข้อเท็จจริง
ที่เกี่ยวกับจ�าเลยได้ ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๑๑๑
�
ี
ื
ี
(๗) ผู้เสียหาย กรณีท่ผู้เสียหายย่นค�าร้องต่อศาลท่มีอานาจพิจารณาคดีอาญา
�
ขอให้บังคับจาเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๔๔/๑
(๘) สหวิชาชีพและล่าม ที่อาจจ�าเป็นต้องมีในการเบิกความของพยานในบางกรณี
ิ
ี
ู่
(๙) พยาน โดยพิจารณาถึงอาย อาชีพ ท่อย และสัญชาต หากเป็นเด็กหรือเยาวชน
ุ
ต้องมีนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์เข้าร่วมตามกฎหมายด้วย
อน่ง ในระหว่างการพิจารณาคด บิดา มารดา หรือผู้ปกครองใช้อานาจปกครอง
�
ี
ึ
โดยมิชอบเก่ยวแก่ตัวเด็กหรือเยาวชน โดยศาลเห็นเองหรือรายงานของผู้อานวยการสถานพินิจ
ี
�
เช่น กระท�าทารุณกรรม หรือกระท�าการอันมีลักษณะเกื้อหนุนใหเด็กหรือเยาวชนประพฤติตน
้
�
เสียหาย หรือปล่อยปละละเลยให้เด็กหรือเยาวชนกระทาความผิด ศาลไต่สวนแล้วได้ความจริง
ั
ดงกล่าว ศาลอาจสงถอนอานาจปกครองหรอความเปนผปกครองทงหมดหรอบางสวนเปนการ
็
้
ู
ื
ื
่
�
ั
่
ั
้
็
ชั่วคราวได้ไม่เกินสองปีตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๑๑๒ และ ๑๑๓
การด�าเนินกระบวนพิจารณาในศาลและการสืบพยาน
พนักงานอัยการจะต้องพิจารณาด�าเนินการ ดังนี้
๑. กำรยื่นฟ้อง
ี
ั
ื
ในการย่นฟ้องผู้ต้องหาน้น ศาลจะมีค�าส่งท่แตกต่างกันในกรณีท่ผู้ต้องหาอยู่ใน
ี
ั
อ�านาจของศาลแล้วและกรณีที่ผู้ต้องหายังมิได้อยู่ในอ�านาจของศาล ดังนี้
๑.๑ กรณีที่ผู้ต้องหำอยู่ในอ�ำนำจของศำล
เน่องจาก พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ ให้อานาจศาลสั่งควบคุมตัวหรือปล่อยช่วคราว
ื
�
ั
ี
ั
ั
ผู้ต้องหาได้ต้งแต่ในช้นตรวจสอบการจับผู้ต้องหา หรือการผัดฟ้อง รวมถึงกรณีท่ผู้ต้องหา