Page 106 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 106
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 105
“ประทบฟ้องให้ควบคุมตวจ�ำเลยไว้เว้นแต่มีประกน ส�ำเนำให้จำเลย
�
ั
ั
ั
นัดสอบถำมค�ำให้กำรจ�ำเลย หมำยนัดผู้อ�ำนวยกำรสถำนพินิจและผู้ปกครอง”
่
ั
ศาลจะกาหนดวนนดสอบถามคาให้การจาเลยในวนอนมใช่วนทยนฟ้อง
่
ื
ี
�
ั
่
ื
ิ
�
ั
�
ั
จ�าเลย
ข้อสังเกต
ั
�
�
๑. กรณีครบกาหนดผัดฟ้องคร้งสุดท้าย และสานวนการสอบสวนอยู่ระหว่างการ
�
พิจารณาช้ขาดความเห็นแย้งของอัยการสูงสุด จะถือเป็นเหตุอย่างอ่นจาเป็นท่จะต้องรีบฟ้อง
ี
ี
ื
ี
ไปก่อนอัยการสูงสุดช้ขาด หรือมิฉะน้นให้เป็นดุลพินิจของพนักงานอัยการท่จะพิจารณาเป็น
ั
ี
�
ิ
ี
ื
ี
เร่องๆ ไป โดยคานึงถึงปัจจัยต่างๆ ท่เก่ยวข้อง อาท สิทธิและเสรีภาพของผู้ต้องหา การคุ้มครอง
ู
ประโยชน์ของผู้เสียหายและความเสยหายต่อคด ตามนยหนงสอสานกงานอยการสงสด
ี
ั
�
ั
ุ
ั
ื
ี
ั
ที่ อส (สฝปผ.)๐๐๑๘/ว ๙๔ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ (ผนวก ๕๔)
ึ
ั
ั
๒. กรณีส่งไม่ฟ้องบางข้อหา หรือกรณีเป็นคดีเอกภาพซ่งมีการส่งไม่ฟ้องบางข้อหา
ั
ี
ื
�
�
ควรให้คาส่งไม่ฟ้องถึงท่สุดก่อน เว้นแต่คดีจะขาดอายุความ หรือมีเหตุจาเป็นอย่างอ่น
ตามระเบียบส�านักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๙๑
๒. นัดสอบถำม หมายถึงการที่ศาลนัดสอบถามคาให้การจาเลย แยกเป็น
�
�
๒ กรณี คือ
๒.๑ จ�ำเลยให้กำรรับสำรภำพ
ั
้
ุ
้
�
ึ
ี
�
ั
(๑) ในข้อหาทมกฎหมายกาหนดอตราโทษอย่างตาไว้ให้จาคกตงแต่ห้าปีขนไป
่
ี
่
�
ั
�
ื
ื
หรอโทษสถานทหนกกว่านน ศาลจะเรยกพนักงานอยการมากาหนดวนนดสบพยานโจทก์
ี
่
้
ั
ั
ี
ั
ั
�
ิ
ประกอบคารบสารภาพในวันดังกล่าว ตามประมวลกฎหมายวธีพิจารณาความอาญา
ั
มาตรา ๑๗๖
�
ี
ื
ี
(๒) ในข้อหาท่มีกฎหมายกาหนดอัตราโทษอ่นๆ ท่ไม่ต้องสืบประกอบ หากศาล
พิจารณาแล้ว เห็นว่าการตัดสินจะเป็นประโยชน์แก่เด็กหรือเยาวชน ศาลจะพิพากษาคดีไป
ในวันนั้นเลย โดยใช้ดุลพินิจไม่ต้องสืบเสาะข้อเท็จจริงก็ได้