Page 105 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 105
104 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
ึ
ั
ั
�
ี
่
ั
�
่
ื
ุ
่
ื
เข้ามอบตว พนกงานสอบสวนอาจยนคาร้องขอต่อศาลเพอขอให้ควบคมตว ซงศาลมอานาจ
สั่งควบคุมตัวได้ ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๗๑ ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา ๑๓๔ จึงเป็นกรณีท่ผู้ต้องหาอยู่ในอานาจของศาลแล้ว ศาลจะมีคาส่ง ดังน ี ้
ี
�
ั
�
(๑) กรณีที่ศาลสั่งปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาไปในชั้นศาล ศาลมีค�าสั่งว่า
“ประทับฟ้อง นัดสอบถำมจ�ำเลย แจ้งโจทก์และสถำนพินิจทรำบ”
�
โดยปกติศาลจะกาหนดวันนัดสอบถามในวันเดียวกับวันครบกาหนดผัดฟ้อง
�
ครั้งสุดท้าย ซึ่งเป็นวันที่ศาลนัดผู้ต้องหามารายงานตัวด้วย
(๒) กรณีที่ศาลสั่งควบคุมตัวผู้ต้องหาไว้ ศาลมีค�าสั่งว่า
�
�
ั
ุ
�
ั
ั
“ประทบฟ้อง ให้ควบคมตวจำเลย สำเนำให้จำเลย นดสอบคำให้กำร
�
จ�ำเลย หมำยนัดผู้อ�ำนวยกำรสถำนพินิจและผู้ปกครอง”
ศาลจะกาหนดวันนัดสอบถามเม่อพ้นวันครบกาหนดผัดฟ้องคร้งสุดท้าย
�
ื
ั
�
ไปแล้ว
�
่
ั
่
ั
ี
่
ี
้
้
้
ู
่
ี
ี
ั
(๓) กรณทผตองหาหลบหนประกนไปในชนศาลกอนฟองคด ศาลมคาสงวา
้
ี
“ประทับฟ้อง ตรวจส�ำนวนแล้วปรำกฏว่ำ จ�ำเลยได้รับกำรปล่อยตัว
ช่วครำวในช้นสอบสวนและหลบหนีไป ยังจับตัวจ�ำเลยไม่ได้ จึงให้จ�ำหน่ำยคดีเสียจำก
ั
ั
สำรบบควำมช่วครำว ยกเลิกหมำยจับเดิม ออกหมำยจับฉบับใหม่ หำกจับจ�ำเลยได้แล้ว
ั
ให้ยกคดีขึ้นพิจำรณำต่อไป”
ถ้าเป็นกรณีเช่นนี้ พนักงานอัยการต้องสั่งใน อ.ก. ๑๔ เพื่อเก็บส�านวนรอไว้
จนกว่าจะจับตัวจ�าเลยได้และศาลยกคดีขึ้นพิจารณาต่อไป
๑.๒ กรณีที่ผู้ต้องหำยังมิได้อยู่ในอ�ำนำจของศำล
สาหรับกรณีท่ผู้ต้องหายังมิได้อยู่ในอานาจของศาล มีได้ในกรณีท่ผู้ต้องหา
ี
�
�
ี
เข้ามอบตัวต่อพนักงานสอบสวนแล้วและพนักงานสอบสวนมิได้ขอให้ศาลควบคุมตัวไว้ หรือ
�
ื
ี
กรณีท่พ้นกาหนดระยะเวลาฟ้องหรือขาดผัดฟ้องแล้ว เม่อพนักงานอัยการฟ้องคดีจึงต้องส่งตัว
ผู้ต้องหาไปยังศาลพร้อมค�าฟ้อง และในวันยื่นฟ้องศาลจะมีค�าสั่งดังนี้