Page 103 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 103
102 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
ี
(๑) ผู้พิพากษาม ๒ ประเภท คือ ผู้พิพากษา และผู้พิพากษาสมทบ โดยในองค์
ึ
ึ
คณะต้องมีผู้พิพากษาไม่น้อยกว่าสองคน และผู้พิพากษาสมทบอีกสองคนซ่งอย่างน้อยคนหน่ง
ต้องเป็นสตรีตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๒๓
ี
�
ึ
ี
(๒) พนักงานอัยการ ซ่งอัยการสูงสุดแต่งต้งให้มีหน้าท่ดาเนินคดีท่มีข้อหาว่าเด็ก หรือ
ั
เยาวชนกระทาความผิด และต้องฟ้องต่อศาลเยาวชนและครอบครัว ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ
�
มาตรา ๑๐๑
(๓) จ�าเลย
ึ
ี
(๔) ท่ปรึกษากฎหมาย โดยจาเลยซ่งเป็นเด็กหรือเยาวชนจะมีทนายความแก้คดีแทน
�
ไม่ได้ แต่ให้มีที่ปรึกษากฎหมายเพื่อปฏิบัติหน้าที่ท�านองเดียวกับทนายความได้ และในกรณีที่
�
ี
ั
ี
จาเลยไม่มีท่ปรึกษากฎหมาย ศาลจะต้องแต่งต้งท่ปรึกษากฎหมายให้ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ
มาตรา ๑๒๐
ในคดีที่จ�าเลยเป็นเด็กหรือเยาวชน ศาลต้องตั้งที่ปรึกษากฎหมายให้ทุกกรณีไม่ว่า
อัตราโทษจะเป็นอย่างไร เว้นแต่จาเลยจะมีท่ปรึกษากฎหมายอยู่แล้ว และหากไม่มีท่ปรึกษา
ี
ี
�
ี
กฎหมาย พนักงานอัยการจะต้องแถลงต่อศาลขอเล่อนการพิจารณาคดีจนกว่าจะมีท่ปรึกษา
ื
�
่
กฎหมายท่ชอบด้วยกฎหมาย ตามหนังสือสานักงานอัยการสูงสุด ด่วนท่สุด ท อส ๐๐๐๗(พก)/ว
ี
ี
ี
๒๓๒ ลงวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๕๖ (ดูผนวก ๘)
ี
ท่ปรึกษากฎหมายต้องมีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๒๑ คือ เป็นทนายความ
ื
ตามกฎหมายว่าด้วยทนายความและผ่านการอบรมเร่องวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
ี
ี
ความรู้เก่ยวกับจิตวิทยา การสังคมสงเคราะห์ และความรู้อ่นท่เก่ยวข้องตามท่กาหนดใน
�
ี
ี
ื
ข้อบังคับของประธานศาลฎีกา ว่าด้วยการอบรม ระเบียบปฏิบัติของท่ปรึกษากฎหมาย
ี
การจดแจ้งและลบชื่อออกจากบัญชี พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖
�
(๕) ทนายความ จะมีในคดีไต่สวนคาร้องขอคืนของกลาง (ทนายผู้ร้อง) คดีท ี ่
�
ี
ผู้เสียหายย่นคาร้องขอเข้าเป็นโจทก์ร่วม (ทนายโจทก์ร่วม) และคดีท่มีการเรียกค่าเสียหายหรือ
ื
ค่าสินไหมทดแทน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔๔/๑