Page 108 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 108
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 107
หรือโฆษณาข้อความซ่งปรากฏในทางสอบสวนของพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ
ึ
ื
ั
ิ
ั
ื
่
ู
�
ี
่
ุ
ื
่
ี
ั
่
ื
ุ
ื
็
ื
หรอในทางพจารณาคดของศาลทอาจทาให้บคคลอนร้จกตว ชอตว หรอชอสกลของเดกหรอ
ั
ี
เยาวชนน้น หรือโฆษณาข้อความเปิดเผยประวัติการกระทาความผิด หรือสถานท่อยู่ สถานท ี ่
�
ทางาน หรือสถานศึกษาของเด็กหรือเยาวชนน้น เว้นแต่กระทาเพ่อประโยชน์ทางการศึกษา
ั
�
ื
�
�
�
ี
โดยได้รับอนุญาตจากศาลหรือการกระทาท่จาเป็นเพ่อประโยชน์ของทางราชการ ตามพ.ร.บ.
ื
ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๑๓๐
�
�
การพิจารณาคดีตามพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ ตามปกติให้ทาการพิจารณาต่อหน้าจาเลย
ึ
�
เว้นแต่กรณีท่ศาลเห็นว่าจาเลยไม่ควรฟังคาให้การของพยานในตอนหน่งตอนใด หรือในข้อท ่ ี
�
ี
�
ี
ี
ไม่เก่ยวกับประเด็นท่ว่าจาเลยได้กระทาความผิดตามฟ้องหรือไม่ ตามพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ
�
มาตรา ๑๐๙ หรือกรณีท่จาเลยไม่สามารถมาฟังการพิจารณาได้ ตามพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ
ี
�
ี
้
มาตรา ๑๒๗ ศาลอาจมีคาส่งให้พิจารณาลับหลังจาเลยได้ แต่ท้งน ต้องกระทาต่อหน้าท่ปรึกษา
ั
�
ี
�
�
ั
กฎหมายของจาเลย และศาลต้องแจ้งข้อความท่พยานเบิกความไปแล้วให้จาเลยทราบเท่าท ่ ี
�
�
ี
ศาลเห็นสมควร
การพิจารณาคดีอาญาท่เด็กหรือเยาวชนเป็นจาเลย ไม่ต้องดาเนินการตามกฎหมาย
�
ี
�
ว่าด้วยวิธีพิจารณาความอาญาโดยเคร่งครัดและให้ใช้ถ้อยคาท่จาเลยสามารถเข้าใจได้ง่าย
�
ี
�
่
ี
�
ุ
ั
กับต้องให้โอกาสจาเลยรวมท้งบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือบคคลทจาเลยอาศัยอยู่ด้วย หรือ
�
บุคคลที่ให้การศึกษาหรือให้ท�าการงาน หรือมีความเกี่ยวข้องด้วย แถลงข้อเท็จจริง ความรู้สึก
ี
และความคิดเห็นตลอดจนระบุและซักถามพยานได้ไม่ว่าในเวลาใดๆ ในระหว่างท่มีการพิจารณา
คดีนั้น ตามพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๑๑๔
กำรสืบพยำนต้องมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
่
ู
ื
(๑) การสืบพยานโจทก์อาจจะต้องสบพยานทีมีทงผ้ใหญ่และเด็กรวมอย่ด้วย
้
ู
ั
ดังนั้น การสืบพยานจึงต้องปฏิบัติดังนี้
ก. การสืบพยานในคดีท่พยานเป็นผู้ใหญ่ การสืบพยานจะเป็นแบบคดีปกต ิ
ี
ธรรมดา พนักงานอัยการจะต้องปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งว่าด้วยการสืบพยานบุคคล ประกอบ พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ