Page 107 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 107
106 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
๒.๒ จ�ำเลยให้กำรปฏิเสธ
ในวันนัดสอบถามค�าให้การจ�าเลยนี้ ศาลจะก�าหนดให้มีการนัดพร้อมเพื่อก�าหนด
วันนัดสืบพยานโจทก์ และวันนัดสืบพยานจ�าเลย
ั
ั
ึ
ั
ั
ั
ดังน้น พนกงานอัยการพงตระหนักว่าในวนนดสอบถามน้น นอกจากจะเป็น
�
�
วันสอบถามคาให้การจาเลยแล้ว ยังเป็นวันนัดพร้อมคดีด้วย พนักงานอัยการจึงควรเตรียม
บัญชีระบุพยานไว้และไปศาลในวันดังกล่าวด้วย และหากในวันสืบพยานจะมีพยานท่เป็นเด็ก
ี
ื
อายุไม่เกินสิบแปดปี จะต้องแจ้งให้ศาลทราบว่ามีการสืบพยานเด็ก เพ่อศาลจะได้ดาเนินการ
�
ส่งหนังสือเชิญนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์ให้มาศาลในวันนัดสืบพยานเด็กด้วย
�
ข้อสังเกต ในศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลมักจะไม่กาหนดให้มีวันตรวจพยาน
หลักฐาน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๗๓/๑ เพราะตาม พ.ร.บ.
�
ิ
ี
ิ
ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๑๑๔ ไม่ต้องดาเนนการตามประมวลกฎหมายวธพจารณาความอาญา
ิ
โดยเคร่งครัด
๓. นัดพิจำรณำ หมายถึง การท่ศาลนัดจาเลย และบิดามารดา ผู้ปกครอง บุคคลท ี ่
ี
�
�
ี
จาเลยอาศัยอยู่ด้วย บุคคลท่ให้การศึกษา หรือให้การทางานหรือมีความเก่ยวข้องมาเป็น
ี
�
�
�
ื
ี
ี
พยานเพ่อสอบถามข้อเท็จจริงท่เก่ยวกับจาเลยก่อนมีคาพิพากษาตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ
มาตรา ๑๑๑
๔. กำรสืบพยำน หมายถึง การสืบพยานโจทก์ พยานผู้เชี่ยวชาญ พยานเอกสาร
พยานวัตถุ การเดินเผชิญสืบ การส่งประเด็น พยานจ�าเลย รวมถึงการที่ศาลนัดไต่สวนค�าร้อง
ขอคืนของกลาง และนัดสืบพยานผู้คัดค้านด้วย
การพิจารณาคดีในศาลเยาวชนและครอบครัว ให้กระทาเป็นการลับ มีบุคคล ๗ กลุ่ม
�
เท่านั้นที่จะอยู่ในห้องพิจารณาได้ ตามพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๑๐๘
ื
การพิจารณาคดีน้มีหลักการต่างจากคดีอาญาท่วไปซ่งต้องทาโดยเปิดเผย เน่องจาก
�
ึ
ั
ี
�
ี
ั
�
ในกรณีท่เด็กหรือเยาวชนเป็นจาเลยน้น กฎหมายกาหนดให้มีการคุ้มครองสิทธิและไม่ให้
ั
เกิดความเสียหายต่อเด็กหรือเยาวชน ท้งยังห้ามมิให้ผู้ใดบันทึกภาพ แพร่ภาพ พิมพ์รูป หรือ
ี
ี
�
บันทึกเสียง แพร่เสียงของเด็กหรือเยาวชนซ่งต้องหาว่ากระทาความผิดหรือบุคคลท่เก่ยวข้อง
ึ