Page 20 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 20
(20)
ท่ํานพระอําจํารย์ผู้ให้ผู้มีเมตตําอัปปมัญญําผู้ชี้ขุมทรัพย์ คือธรรมะอันยิ่งใหญ่ให้บุคคลผู้แสวงหํา
เมื่อแรกที่มีโอกาสได้กราบท่านพระอาจารย์ ท่านเมตตาให้ถามปัญหาที่เกิดจากการศึกษาพระคัมภีร์ ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ที่ปรากฏนั้น ก็เชื่อว่าในวงการการศึกษาพระคัมภีร์ มีหลายคนหลายกลุ่มเกิดมีปัญหาในลักษณะ เดียวกัน จึงเกิดวิชาการตีความตามความเข้าใจที่หลากหลาย แต่เมื่อถามปัญหาดังกล่าวนั้นแล้ว ท่านพระอาจารย์ สามารถเฉลยได้อย่างฉับพลัน ซึ่งการเฉลยในคราวเดียวนั้น สามารถตอบข้อข้องใจในอีกหลาย ๆ พระสูตรได้ จึงเกิดมีความรู้สึกว่า ท่านพระอาจารย์ท่านมีความเป็นพหูสูต
เมื่อได้มีโอกาสปฏิบัติธรรม ด้วยการยกจิตขึ้นสู่ความว่าง แรก ๆ ก็ยังไม่เข้าใจ แม้จะเคยได้ศึกษา เปรียบเทียบการปฏิบัติธรรมในหลาย ๆ สา นัก ที่ได้รับความนิยมจากผู้ปฏิบัติจา นวนมาก ๆ ก็ไม่ปรากฏว่ามีการ ปฏิบัติรูปแบบนี้ แต่ก็ยังคงระลึกถึงคา สอนของพระบรมศาสดา ที่ให้แสวงหาครูอาจารย์ที่มีลักษณะ คือ สามารถ อธบิ ายเรอื่ งทยี่ งุ่ ยากซบั ซอ้ นใหเ้ ขา้ ใจ และใหเ้ รยี นรเู้ รอื่ งราวทลี่ กึ ซงึ้ ยงิ่ ขนึ้ ไปได้ จงึ ไดห้ มนั่ เพยี รฟงั ธรรมและปฏบิ ตั ิ ธ ร ร ม ต า ม ท ที ่ า่ น ส อ น จ น ก ร ะ ท งั ่ ต า ป ญั ญ า ไ ด เ้ ก ดิ ข นึ ้ เ ป น็ ค ร งั ้ แ ร ก ท ไี ่ ด ส้ มั ผ สั ถ งึ ค ว า ม ม ห ศั จ ร ร ย ข์ อ ง จ ติ เ ห น็ ส ภ า ว ะ ปรากฏขึ้นเหมือนเป็นเรื่องราวที่ไม่ซา้ กัน
ธรรมะปฏิบัติที่ท่านพระอาจารย์สอนลูกศิษย์ จะไม่ต่างไปจากที่ท่านโกณฑัญญะพราหมณ์ ได้พิจารณา อริยสัจ ๔ ตามที่พระพุทธองค์ทรงแสดง คือ สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งปวงมีความดับ ไปเป็นธรรมดา หรือกรณีที่ ท่านพระอัสสชิตอบข้อซักถามแก่ท่านสารีบุตรปริพาชก ว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตตรัสเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น ด้วยการพิจารณาโดยแยบคายนี้ ธรรม จักษุ และปัญญาจักษุ จึงบังเกิดขึ้นแก่ท่านทั้ง ๒ ทาให้เกิดความมั่นใจว่า ท่านพระอาจารย์เป็นผู้มีปัญญาอันเลิศ มีความแตกฉานในธรรมะ ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ทา่ นพระอาจารยม์ กั สอนลกู ศษิ ยอ์ ยเู่ ปน็ นจิ คอื การพฒั นาจติ หรอื การขดั เกลาจติ ซงึ่ กไ็ มไ่ ดเ้ ปน็ การเพมิ่ ภาระใหแ้ กผ่ ปู้ ฏบิ ตั ิ เพราะหลงั จากสงั เกตอาการพระไตรลกั ษณแ์ ลว้ กใ็ หด้ สู ภาพจติ ซงึ่ เปน็ ผลของการปฏบิ ตั ิ วา่ มี การเปลี่ยนแปลง หรือพัฒนาไปอย่างไร แล้วก็นาจิตที่ดีนั้นไปใช้งาน ทั้งในการปฏิบัติและในการดา เนินชีวิต สิ่งที่ ปรากฏ คือ ทาให้รู้ว่าชีวิตนี้มีคุณค่า มีสาระ รู้จักคาว่าดีหรือไม่ดี มีประโยชน์หรือไม่มีประโยชน์ ควรหรือไม่ควร อย่างไร ให้ถูกต้องตรงตามกาลเทศะ ซึ่งถือว่าเป็นการพัฒนาคน และพัฒนาสังคม ให้มีแต่ความสันติสุข เกิดขึ้น ไปพร้อม ๆ กัน
ในโอกาสอายุวัฒนมงคล ครบ ๕๐ ปี ขอแสดงมุทิตาสักการะ ขอแสดงความกตัญญูกตเวที แด่ท่าน พระอาจารย์ ชีวิตที่เหลืออยู่นี้ ตลอดถึงกุศลคุณงามความดี และการเจริญภาวนาที่ได้ทามาและกาลังทาอยู่นี้ ขอปฏิบัติบูชา น้อมถวายเป็นอาจริยบูชาแด่ท่านพระอาจารย์ ตลอดไป
ดร.กํารุณ รักษําสุข