Page 22 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 22
๒๐ ปีชีวิตฆราวาส ภูมิประเทศที่กาเนิด
จังหวัดศรีษะเกษในปี ๒๕๑๓ มีหมู่บ้านหนึ่งเป็นหมู่บ้านที่สงบชื่อบ้านดาน หรือบางที่เรียก บ้านด่าน ในตาบลโนนสูง เป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ไม่กี่หลังคาเรือน รู้จักกันทั้งหมู่บ้าน ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกัน และกัน หมู่บ้านบ้านดานห่างจากตัวอาเภอขุนหาญ ๒ กิโลเมตร แต่ด้วยการคมนาคมในสมัยนั้นยังไม่มี ถนนตัดเข้าหมู่บ้าน การเดินทางเข้าอาเภอค่อนข้างจะยากลาบากต้องเดินตามทางเกวียน ใช้เวลาเดินทาง เกอื บ ๒ ชวั่ โมง หมบู่ า้ นบา้ นดานเปน็ หมบู่ า้ นทเี่ งยี บสงบ สว่ นใหญม่ อี าชพี เปน็ เกษตรกร เลยี้ งววั และควาย ไวใ้ ชแ้ รงงานทา ไรไ่ ถนา ปรบั สภาพดนิ เตรยี มทา ไรท่ า นา เมอื่ เขา้ ฤดทู า นา เชน่ เดยี วกบั หมบู่ า้ นในอสี านทวั่ ๆ ไป สภาพทั่ว ๆ ไปเป็นท้องทุ่งนา ในน้ามีปลาในนามีข้าว หนองน้าติดกับหมู่บ้านมีปลาชุกชุมตามธรรมชาติ เป็นแหล่งอาหารให้คนในชุมชน ฤดูฝนมีกบมีเขียดตามธรรมชาติ ให้จับเป็นอาหาร นอกจากจับปลาใน หนองของหมู่บ้าน และเก็บผักผลไม้ตามหัวไร่ปลายนา
วถิ ชี วี ติ คนในหมบู่ า้ น ในแตล่ ะวนั ทา มาหาเลยี้ งชพี ตามวถิ คี นชนบทใกลช้ ดิ กบั ธรรมชาติ เชน่ เดยี ว กับวิธีเกษตรกรทั่วไป ชาวบ้านเลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ วัว ควาย ครั้นเมื่อเข้าหน้าฝน ชาวบ้านจะเริ่มเตรียมดิน เพาะกล้า ปักดาปลูกข้าวทานาตามฤดูกาล เด็ก ๆ ในหมู่บ้านวิ่งเล่นติดตามผู้ใหญ่ช่วยทาไร่ทานา เรียนรู้ การใช้ชีวิตจับปลาตามหนองน้าใกล้หมู่บ้านมาทาเป็นอาหารเย็นกันในครอบครัว คนบ้านดานรู้จักกันหมด ทุกคน เกี่ยวดองเป็นญาติพี่น้องกัน ส่วนใหญ่ ใช้นามสกุลเดียวกัน “ไชยสุวรรณ” ทั้งหมู่บ้าน จึงเป็นเพื่อน บ้านที่เอื้อเฟื้อโอบอ้อมอารีต่อกัน
บ้านดานเป็นสังคมแห่งการเกื้อกูล “บวร” บ้าน วัด โรงเรียน มีความสัมพันธ์ยึดโยงค้าจุนระหว่าง คนในหมู่บ้าน ให้เป็นคนที่สมบูรณ์ทั้งกายและใจ สืบสานวัฒนธรรม ศาสนา และซึมซับคาสอนจาก พระสงฆ์ เป็นผู้สนับสนุนพระพุทธศาสนาให้ยั่งยืนตามวิถีชีวิตคนไทยในอดีต เป็นมรดกทางวัฒนธรรม สืบต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่น
วดั บา้ นดา่ น เปน็ วดั ประจา หมบู่ า้ น เปน็ ศนู ยร์ วมของหมบู่ า้ น มพี ระสงฆช์ ว่ ยสอนเผยแผห่ ลกั ธรรม ในพทุ ธศาสนาผา่ นลา โพงกระจายเสยี งของวดั ในโอกาสเทศกาลงานบญุ ตา่ ง ๆ ทางพทุ ธศาสนา เนอื่ งจากวดั กบั หมบู่ า้ นหา่ งกนั ไมถ่ งึ หนงึ่ กโิ ลเมตร วดั มสี ว่ นชว่ ยเหลอื เกอื้ กลู ใหช้ าวบา้ นเขา้ ถงึ คา สอนในพทุ ธศาสนา เพอื่ ดา เนนิ ชวี ติ อยา่ งสงบ สนั ตสิ ขุ ทงั้ มโี รงเรยี นวดั ประจา หมบู่ า้ น โรงเรยี นวดั บา้ นดา่ น เปน็ สถานทใี่ หก้ ารศกึ ษา ของเด็ก ๆ ในหมู่บ้านสืบมายาวนาน ชาวบ้านที่นี่จึงมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย และดาเนินชีวิตแบบคนในชนบท ทั่วไป ไม่ขาดแคลนในสิ่งจาเป็นต่อการดารงชีวิต อาหาร บ้านที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค ในยุคสมัยนั้นชาวบ้านเองก็มีความสุขตามอัตภาพ ไม่ได้มีความรู้สึกว่ายากลาบาก หรือขาดแคลน มีกิน
(23)