Page 341 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 341
วิธีเพ่ิมความนิ่งเพื่อเจาะสภาวะ
ณ สานักวิปัสสนาพัฒนาทางจิต จ.ตรัง วันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒
นั่งไป ปฏิบัติไป พอบอกว่านิ่งก็จะมีปัญหาว่า คาว่า นิ่งกับสงบ โยคีจะรู้สึกว่านั่งแล้วจิตมันไม่นิ่ง เลย จิตมันไม่น่ิงเลย เดี๋ยวแว็บไปโน่น แว็บไปนี่ วอกแวก ๆ ตลอดเวลา แต่การท่ีเพิ่มความนิ่งตรงน้ี จริง ๆ แล้ว คาว่าเพิ่มความนิ่ง ต้องเข้าใจอย่างหนึ่งว่า ในการปฏิบัติธรรมของเรา ในการเจริญกรรมฐาน ในการ เจริญวิปัสสนากรรมฐาน ตัวท่ีสาคัญที่สุดก็คือเรื่องของอินทรีย์ทั้ง ๕ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ ตรงนี้ก็คือ การที่ เพ่ิมความน่ิง การให้นิ่ง คือการปรับอินทรีย์
อินทรีย์ ๕ พละ ๕ คืออะไร คือ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิและปัญญา ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิและ ปัญญา ๕ อย่างนี้ พอศรัทธาเป็นใหญ่ เขาเรียกว่าเป็นอินทรีย์ มีศรัทธานาก็จะเป็นตัวอินทรีย์ ถ้าศรัทธานั้น มีพลังก็จะเป็นศรัทธาพละ กลายเป็นอาการอย่างหนึ่ง คือจิตเดียวกัน แต่ในบริบททาหน้าที่ท่ีแตกต่างกัน ทีนี้ แตกต่างไหม พูดไปพูดมา เอ๊ะ! ทาไมตัวเดียวกันทาหน้าที่แตกต่างกัน ส่งผลเป็นสิ่งที่ต้องให้มีความ สมดุลกัน ส่วนใหญ่เราก็ใช้คาว่า ปรับอินทรีย์ให้สมดุลกัน
เพราะฉะนั้นบางคร้ังเวลาเรานั่งกรรมฐาน เวลาโยคีนั่งกรรมฐาน สังเกตว่า เวลาเราตามอาการของ ลมหายใจ ยกตัวอย่าง เอาแบบตามลมหายใจไปสักพัก พอลมหายใจหมดไป พอลมหายใจว่างไป จิตมัน วา่ งนนี่ ะ สงิ่ หนงึ่ ...พอจติ พอลมหายใจวา่ งไป แลว้ เรากร็ สู้ กึ ดแู บบเรอ่ื ย ๆ ไมม่ คี วามตงั่ มน่ั จติ จะไมม่ คี วาม ตั้งมั่น แค่ว่าง ๆ เรื่อย ๆ ตรงนี้แหละที่ต้องเพิ่มความนิ่ง นิ่ง ดูอะไร นิ่ง เพื่อที่จะรู้ตรงท่ีไม่มีลมหายใจ ลมหายใจหายไปแล้วนี่นะ ถ้ามันเรื่อย ๆ เมื่อไหร่ พอเรานิ่งท่ีจะสังเกตถึงความไม่มี ตรงที่ไม่มีลมหายใจ สังเกตดูอะไร สังเกตดูจิตละทีน้ี พอน่ิงปุ๊บ พอลมหายใจไม่มี นิ่งสังเกตว่าจิตเรารู้สึกอย่างไร
พอเพิ่มความน่ิง นิ่งที่จะรู้ ไม่ใช่น่ิงเฉย ไม่ใช่ อ้า! ทาจิตให้นิ่ง เราก็นิ่งเฉยเมยไม่ดูอะไร ถ้าเป็น อย่างนั้น สติไม่ดี เขาเรียกว่านิ่งเฉย กับนิ่ง...นิ่งตรงนี้เป็นลักษณะของการตั้งใจ เป็นอาการที่เราตั้งใจที่จะรู้ สังเกตไหม พอเรานิ่งนิดหนึ่ง ต้ังใจนิดหน่ึง นิ่งนิดหนึ่งต้ังใจดูสิ ทุกครั้งท่ีเราตั้งใจ จิตมันจะนิ่งนิดหน่ึง นิ่งขึ้นนิดหนึ่ง ตรงนี้แหละความหมายของคาว่านิ่ง ไม่ใช่น่ิงโดยที่ไม่รับรู้อะไร พอเรานิ่งใหม่ สังเกตต้ังใจ
273