Page 384 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 384
316
จะให้ความสาคัญกับจิตที่ผ่องใส กว้างขึ้น สงบขึ้น ตั้งมั่นขึ้นนั้นอย่างไร ? จะให้ความสาคัญกับจิตตนเอง ที่ผ่องใสขึ้นตั้งมั่นขึ้นหรือเปล่า ? หรือจะไปให้ความสาคัญกับความคิดที่เกิดมาใหม่ เกิดมาใหม่... ? การ ให้ความสาคัญตรงนี้หมายถึงจุดไหน ?
ความสาคัญตรงนี้หมายถึงว่า บางครั้งขณะที่เราเห็นความคิดเกิดดับอยู่ในที่ว่าง ๆ แล้วทาให้จิต ผ่องใสขึ้น พอไปให้ความสาคัญในมุมที่ว่าไม่อยากให้ความคิดเกิด เมื่อไม่อยากให้ความคิดเกิด แต่ละ ขณะจากที่ใสเขาก็จะเปลี่ยนไป จากที่เคยเห็นเขาเกิดอยู่ในที่ว่าง ๆ แล้วใสขึ้น พอไม่อยากให้ความคิดเกิด ขึ้น เผลอไปคิดว่าไม่อยากให้เกิดปุ๊บ ความใสนั้นจะลดลงหรือหยุดไป กลายเป็นมีตัวตนแทรกเป็นระยะ ๆ แ ต ถ่ า้ ใ ค ร เ ข า้ ไ ป ใ ห ค้ ว า ม ส า ค ญั ต ร ง จ ดุ ท เี ่ ห น็ ว า่ ค ว า ม ค ดิ ท เี ่ ก ดิ ข นึ ้ ม า เ ก ดิ ด บั อ ย ใ่ ู น ท วี ่ า่ ง ๆ ไ ม ส่ า ม า ร ถ บ บี ค นั ้ จิตใจให้เกิดความขุ่นมัวเศร้าหมองได้ หรือไม่สามารถทาให้กิเลสเกิดขึ้นได้แล้ว พอใจในจิตที่เป็นอิสระ จากความคิด จิตที่ไม่ถูกบีบคั้นด้วยความคิด/เรื่องราวที่เกิดขึ้น พอใจจิตที่กาลังเป็นกุศลอยู่...
ถ้าพอใจตรงนั้น จิตก็จะยิ่งมีกาลังมากขึ้น จิตที่มีกาลังมากขึ้น หมายถึงสติมีกาลังมากขึ้น ผ่องใส ขึ้น ตื่นตัวขึ้น สมาธิมีความตั้งมั่นขึ้น ปัญญาเห็นชัดเจนว่า เมื่อจิตกับความคิดแยกส่วนกัน จิตก็ผ่องใสได้ จติ กบ็ รสิ ทุ ธไิ์ ด้ ไมจ่ า เปน็ ตอ้ งปฏเิ สธความคดิ ไมจ่ า เปน็ ตอ้ งหา้ มความคดิ นนั้ เกดิ เพยี งแตพ่ อใจทจี่ ะกา หนด รู้อาการเกิดดับของความคิดเท่านั้นจิตก็อิสระได้แล้ว เพียงแต่พอใจที่จะกาหนดรู้ถึงการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่- ดับไปของความคิด นั่นคือเป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งแค่นั้นเอง ไม่ใช่ของเราหรือของใคร เมื่อรู้ชัดแบบนี้ เมื่อไหร่ ความคิดกลับรู้สึกหมดไปหายไปอย่างรวดเร็ว ไม่รบกวน เมื่อความคิดไม่สามารถรบกวนจิตใจ เราได้ ความคิดนั้นก็จะจบไป ไม่ขึ้นมารบกวนแล้ว เปลี่ยนเป็นอารมณ์อื่น เปลี่ยนเป็นสภาวะอย่างอื่นไป
เมื่อรู้เข้าใจตรงนั้น จิตผ่องใสขึ้น สว่างขึ้น นั่นหมายถึงว่าจิตเราผ่องใสขึ้นจากปัญญาของเรา จากการเข้าไปกาหนดรู้ความจริงตรงนั้น เพราะฉะนั้น การดูจิตในจิตก็จะเห็นชัดขึ้นว่าจิตดีอย่างไร เมื่อ จิตผ่องใสขึ้น ถามว่า เราจะกาหนดอย่างไรต่อ ? จิตผ่องใสขึ้น ตั้งมั่นขึ้น ไม่มีอาการเกิดดับอย่างอื่น ความคิดหมดไป ก็ดูจิตที่ใสที่ผ่องใสนั่นแหละ ดูจิตในจิต ดูสภาพจิตที่ผ่องใสเอง เข้าไปกาหนดรู้ดูตัวจิต ที่ผ่องใสหรือตั้งมั่นนั่นแหละ ดูว่าเขาเปลี่ยนอย่างไรต่อไป นี่คือวิธีการกาหนดสภาวะในการพิจารณา สภาวธรรมที่เกิดขึ้น เพราะฉะนั้น ทุกครั้งที่มีความคิดเกิดขึ้นมาที่เราคิดว่าความคิดนั้นเป็นอุปสรรค รบกวนมากมาย ขอให้พิจารณาในลักษณะอย่างนี้
ที่บอกว่า ยกจิตขึ้นสู่ความว่างบ่อย ๆ ทุกครั้งที่ปฏิบัติแล้วพิจารณา ให้อารมณ์นั้นเกิดขึ้นอยู่ใน ที่ว่าง ๆ เพื่อเป็นการละสักกายทิฏฐิ ละความเป็นตัวตนเป็นเราเป็นเขา ให้เหลือแต่สติ สมาธิ และปัญญา ที่ทาหน้าที่รู้ถึงสภาวธรรม/สัจธรรมที่กาลังเป็นไปอยู่ ถ้าเรากาหนดแบบนี้นี่เราจะเห็นเลยว่า ในการตาม กาหนดรู้อารมณ์ต่าง ๆ ที่ปรากฏขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็นอาการของความคิด อาการของลมหายใจ อาการของ เวทนาก็ตาม เราจะกาหนดได้อย่างสบายใจ ไม่มีความอยาก ไม่มีการเข้าไปยึด ไม่มีความกลัว มีแต่สติ สมาธิ และปัญญาที่เข้าไปพิจารณาถึงความเป็นไปของอารมณ์นั้น ๆ จริง ๆ