Page 505 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 505
437
อารมณ์ เขาเกิดขึ้นมาแล้ว เราก็กาหนดรู้เกิดดับของเขา มีความไม่ชอบไม่สบายใจขึ้นมา กาหนดรู้อาการ เกิดดับ ดับให้เร็ว ดับให้เร็ว ก็กลายเป็นว่าเป็นอารมณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น เป็นจิตดวงหนึ่งที่เกิดขึ้นเช่นเดียวกัน
เพราะฉะนนั้ กา หนดแบบนี้ กลายเปน็ วา่ ตวั นแี้ หละ ทเี่ ราใหค้ วามสา คญั กบั ทกุ ๆ สภาวธรรม ทกุ ๆ อารมณ์ที่เกิดขึ้นเหมือนกัน...คือเป็นสภาวธรรมอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้น ไม่ใช่ว่าเป็นเราเป็นเขา เป็นใครชอบไม่ ชอบ แต่นั่นคือสภาวธรรมที่เกิดขึ้นที่เรากาหนดรู้ แล้วผลที่ได้คืออะไร ผลที่ได้เราจะได้อะไร เราก็ได้สติ ได้สมาธิ ได้ปัญญาเพิ่มขึ้นมา ได้ความสบายใจ ได้ละอุปาทาน ได้ละอวิชชา ความเข้าใจผิด ความเข้าใจ ผิดความเห็นผิด ที่เคยเกิดขึ้นมาว่า อันนั้นคือปัญหา อันนี้คืออุปสรรค แต่จริง ๆ แล้ว เขาคือสภาวธรรม
เพราะฉะนั้นถ้าเป็นแบบนี้ เรากาหนดรู้แบบนี้บ่อย ๆ เราจะไม่หงุดหงิดกับอะไร ปัญญาเกิดขึ้น มา อ๋อ! เป็นอย่างนั้นเแหละ ไม่หงุดหงิด อันนี้ขึ้นมา อ๋อ! เป็นอย่างนั้นเอง เคยเกิดแล้ว เคยเห็นแล้ว อ๋อ! เราเห็นบ่อยแล้วนี่นะ เห็นแทบทุกวันเลย กระทบทุกวันเลย จะได้รู้ อ๋อ! เป็นอย่างนั้นแหละ ทาไมจะต้อง กระทบทุกวัน แหม! กระทบทุกวันขนาดนั้นยังไม่เข้าใจอีกเหรอ เอ่อ! มันน่าจะเข้าใจได้แล้ว กระทบครั้ง แรก ครั้งที่สอง ก็เอ่อ! มันกระทบแล้วกระทบ กระทบก็ต้องเป็นกระทบ
จริง ๆ ผัสสะนี่นะ เรามักจะใช้ว่าผัสสะทางตา ทางหู แต่กระทบใจนี่นะ กระทบที่จิตใจถึงเรียกว่า กระทบ แตก่ ารกระทบอารมณท์ างตา หู ทางจมกู ในการเหน็ อารมณท์ างตา การไดย้ นิ เสยี ง เปน็ ผสั สะอยา่ ง หนึ่ง ที่เรา...เขาเรียกว่าหูได้ยินเสียง ตาเห็นรูป ตรงนี้ คือเรียกว่าผัสสะแล้ว แต่เวทนาที่ใจจะเกิดหรือไม่ หรือเป็นเวทนาแบบไหน ตรงนั้นต่างหากที่เราป้องกัน ก็คือว่า ทาอย่างไรทุกขเวทนาทางใจถึงไม่เกิดขึ้นนะ เพราะฉะนั้น การที่เรารับรู้ด้วยความรู้สึกที่ไม่มีตัวตน แล้วกาหนดรู้อาการเกิดดับ ตรงนี้แหละ มีผัสสะ
บางครั้งเวทนาเกิดขึ้นมา แต่ไม่ได้เป็นเวทนาที่เป็นทุกขเวทนา บางครั้งนี่นะ เราจะเข้าใจ เมื่อก่อน เคยทุกข์ว่า กระทบแล้วรู้สึกไม่สบายใจ บางทีกระทบ หลัง ๆ ว่าง ๆ กระทบแล้ว มันมีการหยุดนิดหนึ่ง แลว้ กก็ ระทบปบุ๊ มนั กกึ้ นดิ หนงึ่ หยดุ เหมอื นทา ใหเ้ ราสะดดุ นดิ หนงึ่ กค็ ดิ วา่ มนั นา่ จะเปน็ ความทกุ ข์ ไมใ่ ชน่ ะ ไม่ได้หมายความว่า ก็หยุดแล้ว กระทบแล้วเราต้องหยุด เรานิ่ง ต้องตั้งสติ ก็ไม่ได้หมายความว่า เราต้องเป็นทุกข์ เป็นความตั้งมั่นขึ้นมา กระทบแล้วจิตเขาตั้งมั่นขึ้น นิ่งขึ้น ตรงนี้แหละที่ต้องพิจารณา
การสังเกตให้ดี เพราะอะไร เราไม่ใช่ว่า อารมณ์เข้ามากระทบแล้ว เขาจะผ่านเหมือนอากาศ ใน อากาศไปเรื่อย ๆ ๆ เป็นอยู่ช่วงหนึ่งแค่นั้นเอง สภาวธรรมที่เกิดขึ้น ตรงนี้แหละคือแต่ละขณะ ที่สภาวะ เปลี่ยนไป ที่เราต้องใส่ใจ เพราะเขานิ่งขึ้น จริง ๆ แล้ว นั่นคือปฏิกิริยาของจิตที่จะป้องกันตัวเอง พอมี ผัสสะแรง ๆ ก็จะนิ่ง แล้วตั้งสติขึ้นมา เขาก็หยุดนิ่ง กลายเป็นความตั้งมั่น พอเป็นความตั้งมั่น บางทีโยคี คิดว่ามีตัวตนแล้ว มีกิเลสแล้ว อันนี้ต้องสังเกตดี ๆ นะ
อันนี้คือ บอกวิธีสังเกต แต่ก็ระวังอย่าหลงตัวเองล่ะ อย่างพอเราตั้งมั่นนี่นะ ไม่มีฉัน ไม่มีตัวตน มีความตั้งมั่นอย่างเดียว แต่ตัวตนเต็ม อันนี้ก็ไม่ได้ ต้องระวังว่า...เพียงแต่การกาหนดรู้ตรงนี้ นี่คือความ แยบคายของจิต ความแยบคายของจิต ความละเอียดของปัญญา แต่ที่สาคัญคือกาหนดรู้ พอไม่มีตัวตน