Page 566 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 566

498
แล้วการดูธรรมในธรรมนั้นเป็นอย่างไร จริง ๆ สภาวะอาการทางกาย กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน อาการทางกาย เป็นเวทนาหรือจิตที่กล่าวมาแล้ว ล้วนแต่เป็นสภาวธรรมทั้งสิ้น เป็นสภาวธรรม อาการของ รูปนามขันธ์ ๕ ก็เป็นสภาวธรรม รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ที่เกิดกับใจ ก็เป็นสภาวธรรม เพราะ เปน็ ธรรมชาตทิ เี่ กดิ ขนึ้ และกฎไตรลกั ษณน์ คี่ อื กฎธรรมชาตจิ รงิ ๆ สภาวธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ มา พจิ ารณารอู้ าการ เกิดดับอย่างต่อเนื่อง ของสภาวธรรมที่กาลังปรากฏขึ้นมา ที่เปลี่ยนไป อันนี้คือสภาวธรรม คืออาการของ รูปนาม จัดเป็นสภาวธรรมที่เกิดขึ้น
แต่ถ้าหัวข้อธรรมที่เขาบัญญัติเอาไว้ ตั้งขึ้นมานั้นอีกเรื่องหนึ่ง แต่สภาวธรรมก็คืออาการพระ ไตรลักษณ์ ของรูปนามขันธ์ห้าที่กาลังปรากฏ ที่กาลังเป็นไป กับอีกอย่างหนึ่ง สภาวธรรมที่เกิดขึ้นมา บางที ลักษณะของสภาวธรรมที่ปรากฏ ที่เราไม่สามารถบอกชื่อได้ แต่พูดถึงอาการ ถึงลักษณะของอาการนั้นได้ อย่างเช่น นั่งอยู่ในความสงบ ไม่มีอาการทางกายเกิดขึ้นมา รูปไม่มี มีแต่อาการเป็นดวง เป็นแสงสว่างผุด ขึ้นมา เป็นอาการเกิดดับผุดขึ้นมาแล้วก็ดับไป ผุดขึ้นมาหายไป
หรือเป็นจุดใส ๆ เป็นดวงใส ๆ ขึ้นมาแล้วก็ดับไป มีแล้วหมดไป มีแล้วหายไป หรือเป็นสี เป็นแสง มีความสลัวมัวเกิดขึ้นมาข้างหน้า มีความเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ไม่ได้บอกว่าเป็นพองยุบ ไม่ ได้บอกว่าเป็นความคิด ไม่ได้บอกว่าเป็นเวทนา แต่มีอาการเปลี่ยนแปลง มีอาการปรากฏขึ้นมาเฉพาะหน้า ในที่ว่าง ๆ ในความสงบ
หรอื แมแ้ ตใ่ นบรเิ วณตวั ทมี่ คี วามวา่ ง ไมม่ รี ปู รา่ งของตวั แตม่ อี าการเปลยี่ นแปลง มอี าการกระเพอื่ ม มีอาการสั่น อาการกระเพื่อมเกิดขึ้น นั่นก็คือสภาวธรรมที่ปรากฏเกิดขึ้นมา เพราะฉะนั้น ธรรมมานุปัสสนา สตปิ ฏั ฐาน คอื ตามกา หนดรอู้ าการทกี่ า ลงั ปรากฏ สภาวธรรมทกี่ า ลงั ปรากฏเกดิ ขนึ้ นนั้ มคี วามเปลยี่ นแปลง หรือเกิดดับในลักษณะอย่างไร นี่คือเป็นการกาหนดอารมณ์หลักทั้ง ๔ อย่าง ที่บอกว่า การเจริญวิปัสสนา กรรมฐาน ตามหลกั ของสตปิ ฏั ฐาน ๔ คอื ตามกา หนดรอู้ าการทางกายทปี่ รากฏเกดิ ขนึ้ ทเี่ ปน็ อารมณป์ จั จบุ นั เรียกว่ากายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
เมอื่ ไหรก่ ต็ ามทมี่ เี วทนาปรากฏเกดิ ขนึ้ มา ไมว่ า่ จะเปน็ อยใู่ นอริ ยิ าบถหลกั ขณะยนื ขณะเดนิ ขณะนงั่ หรือนอนก็ตาม เมื่อมีเวทนาเกิดขึ้นมา แล้วมีเจตนายกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา เอาเวทนานั้นมาเป็นอารมณ์ กรรมฐาน ด้วยการเข้าไปกาหนดรู้ ถึงการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปของเวทนานั้น ก็จัดเป็นเวทนานุปัสสนาสติ- ปฏั ฐาน คอื ตามกา หนดรอู้ าการของเวทนานนั้ ไมว่ า่ จะเปน็ ทางกายหรอื ทางจติ กต็ าม เมอื่ มเี จตนาทจี่ ะรถู้ งึ อาการ เกดิ ดบั ของเวทนา ถงึ กฎไตรลกั ษณแ์ ลว้ กจ็ ดั เปน็ เวทนานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน มสี ตติ ามกา หนดรขู้ องเวทนาไป
เมอื่ มคี วามคดิ เกดิ ขนึ้ มา แลว้ มเี จตนาทจี่ ะกา หนดรถู้ งึ อาการเกดิ ดบั อาการทางจติ อยา่ งทบี่ อกแลว้ ก็เป็นจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน และอารมณ์ทั้ง ๔ อย่างนี้ ๆ จะสลับกันปรากฏเกิดขึ้นมาในชีวิตของเรา ใน ชีวิตประจาวันของเรา ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถหลัก คือการนั่งกรรมฐาน เดินจงกรม การยืน การนอน หรือ แม้แต่อิริยาบถย่อย ก็จะสามารถปรากฏขึ้นได้ เพราะสภาวธรรมเหล่านี้เป็นอกาลิโก เป็นสภาวธรรม ที่จะ ปรากฏเกิดขึ้นได้ไม่จากัดกาล


































































































   564   565   566   567   568