Page 567 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 567
499
เพราะฉะนั้น การที่เราเข้าใจถึงหลักแบบนี้ หลักของการปฏิบัติ ถ้าเราเข้าใจแล้ว เราก็จะเห็นว่า อารมณ์ที่จะเอามาเป็นอารมณ์กรรมฐานนั้น มีอยู่รอบตัว มีอยู่ตลอด มีอยู่ทุกขณะ มีอยู่ทุกเวลา เหลือแต่ การทผี่ ปู้ ฏบิ ตั ิ ใสใ่ จเขา้ ไปพจิ ารณาเอาอารมณน์ นั้ มาเปน็ อารมณก์ รรมฐานหรอื ไมแ่ คน่ นั้ เอง เพราะฉะนนั้ อนั นี้คือพูดถึงโดยสังเขป โดยหลักสาคัญ ๆ ในการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน และการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน ที่ถามว่า ที่บอกว่า เราปฏิบัติเพื่ออะไร ต้องกาหนดอะไร ก็กาหนดอารมณ์ทั้ง ๔ อย่าง ๆ ที่บอกแล้ว เพื่อ อะไร เพื่อเป็นการกาหนดรู้อาการพระไตรลักษณ์
เปา้ หมายของการกา หนดรู้ คอื รอู้ าการเกดิ ดบั ของอารมณน์ นั้ ๆ นนั่ คอื ขณะปจั จบุ นั แตก่ ารกา หนด รู้อาการพระไตรลักษณ์เพื่ออะไร เพื่อที่จะเห็นถึงสัจธรรมความจริง และเพื่อการละการคลายอุปาทาน เพื่อ การดับทุกข์ เพื่อการหลุดพ้นอย่างสิ้นเชิงนั่นเอง นั่นคือเป้าหมายสูงสุด ก็คือเพื่อมรรคผลนิพพาน เพราะ ฉะนนั้ เวลาปฏบิ ตั ธิ รรม ขอใหโ้ ยคใี สใ่ จอารมณท์ งั้ ๔ อยา่ งนี้ เอาอารมณท์ งั้ ๔ อยา่ งนี้ มาเปน็ อารมณห์ ลกั ใน การปฏิบัติกรรมฐานของเรา จะได้รู้ว่า ขณะนี้เราตามกาหนดรู้อาการเกิดดับของอะไร ขณะนี้ตามกาหนดรู้ อาการของสภาพจติ ขณะนตี้ ามกา หนดรอู้ าการเกดิ ดบั ของเวทนา ขณะนตี้ ามกา หนดรอู้ าการเกดิ ดบั ของเสยี ง
อันนี้เพิ่มอีกนิดหนึ่ง ก็คือว่าอารมณ์ทั้ง ๖ ที่เรียกบอกว่า รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ ที่ เกดิ กบั จาก...โดยเฉพาะอารมณ์ ธรรมารมณค์ อื จะเปน็ อาการของเสยี ง หรอื การเหน็ ภาพทปี่ รากฏขนึ้ ทเี่ พมิ่ ขนึ้ มา เสยี งทไี่ ดย้ นิ จะเปน็ เสยี งอะไรกต็ าม กส็ ามารถเอามาเปน็ อารมณก์ รรมฐานได้ ภาพทเี่ หน็ ไมว่ า่ จะเปน็ ภาพสถานที่ ผู้คน ต้นไม้ สรรพสัตว์ต่าง ๆ ก็สามารถเอามาเป็นอารมณ์วิปัสสนากรรมฐานได้เช่นเดียวกัน
เพราะฉะนั้น การที่จะยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนากรรมฐาน ตัวหลักก็คือ มีเจตนาที่จะเข้าไปกาหนดรู้ ถึง อาการพระไตรลักษณ์ หรือความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา หรือพิจารณาการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ของ แ ต ล่ ะ อ า ร ม ณ น์ นั ่ เ อ ง น คี ่ อื เ ป น็ อ า ร ม ณ ห์ ล กั เ ป น็ ส งิ ่ ส า ค ญั เ ป น็ อ า ร ม ณ เ์ บ อื ้ ง ต น้ ใ น ก า ร เ จ ร ญิ ก ร ร ม ฐ า น ข อ ง เ ร า เ พ ร า ะ อ า ร ม ณ เ์ ห ล า่ น ี ้ จ ะ ส ล บั ส บั เ ป ล ยี ่ น เ ว ยี น ก นั ม า เ ว ท น า จ ะ เ ก ดิ จ า ก อ ะ ไ ร ก เ็ ป น็ เ ว ท น า ค ว า ม ค ดิ จ ะ เ ก ดิ จ า ก อะไรก็เป็นความคิด เพราะฉะนั้น ถ้าย่อลงมา ก็เหลือแต่อาการของรูปกับนาม ที่โยคีพึงใส่ใจกาหนดรู้ ถึง การเกิดดับของอารมณ์นั้น ๆ
อีกอย่างหนึ่ง ในการปฏิบัตินะ สาหรับผู้ใหม่ ที่ปฏิบัติแล้ว หรือไม่ว่าจะเป็นคนใหม่คนเก่าก็ตาม ถ้าจะให้ดี ถ้าเรามีการกาหนดเวลา เขาเรียกตั้งกาหนดเวลา ตั้งกติกาให้ตัวเอง จะนั่งกรรมฐานครั้งละหนึ่ง ชั่วโมง เดินจงกรมครั้งละหนึ่งชั่วโมง นั่งสลับกับเดินจงกรมสลับกันไป ไม่ว่าจะเริ่มจากช่วงเช้า กี่โมงที่เรา ลงมาปฏิบัติ ก็กาหนดเวลาให้กับตัวเอง สลับแบบนี้ อย่างที่บอกว่า พอถึงเวลาที่เราจะใช้กาหนดอิริยาบถ ย่อย ทาอย่างไร อารมณ์หลัก ๆ นี่นะ ยืน เดิน นั่งนะ การยืน เดิน นั่ง นอน
น อ น น นี ่ ะ ค ว ร จ ะ ใ ช น้ อ้ ย น อ น จ ะ ใ ช ต้ อ น ท .ี ่ . . ก อ่ น ท เี ่ ร า พ กั ผ อ่ น ท จี ่ ะ พ กั อ ริ ยิ า บ ถ ท เี ่ ร า จ ะ ห ล บั ก อ่ น ท ี ่ จะหลับ กาหนดอาการในขณะที่กาลัง...ในอิริยาบถนอนไปจนกว่าจะหลับนั้น ใช้ในขณะนั้น แต่ในอิริยาบถ ทั่วไป ในชีวิตประจาวัน ในระหว่างวันนะ การกาหนดเวลาให้ตนเอง ๆ นั้น สาหรับบางคนเป็นสิ่งสาคัญ มาก ๆ เพราะจะทาให้จิตมีระเบียบ มีความตั้งมั่น