Page 827 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 827

759
ก็จะเคลื่อนไหวอย่างมีความสุขหรือเคลื่อนไหวอยู่ในความสุข เมื่อเคลื่อนไหวอยู่ในความสุขแล้ว ขณะที่ สภาพจิตเป็นแบบนั้น ไม่ใช่เรามาหลงเพลิดเพลินกับความสุข แต่ไม่ใช่ปฏิเสธความสุข
สิ่งที่ต้องทาก็คือว่า ขณะที่จิตเรามีความสุข สังเกตอารมณ์ที่ปรากฏขึ้นมาในบรรยากาศของความ สุขว่าอารมณ์เหล่านั้นเกิดดับอย่างไร... เสียงที่เกิดอยู่ในบรรยากาศของความสุข เขาเกิดดับอย่างไร ? อาการของอิริยาบถย่อย การเคลื่อนไหวที่เคลื่อนไหวอยู่ในบรรยากาศของความสุข เคลื่อนไหวแต่ละครั้ง เขาเกดิ ดบั อยา่ งไร ? เคลอื่ นผา่ นความสขุ ไปแลว้ เขาดบั แบบนี้ เคลอื่ นผา่ นความสขุ ตรงนดี้ บั อยา่ งนี้ หนั ซา้ ย หนั ขวา พอเคลอื่ นไปดา้ นขวา-หยดุ -เขาดบั แบบนี้ หนั มาทเี่ ดมิ -เขาหยดุ -แลว้ เขาดบั แบบน.ี้ .. นคี่ อื สงั เกตอาการ ของอิริยาบถย่อยที่อยู่ในบรรยากาศ อันนี้พูดในกรณีที่มีความสุข
แล้วถ้าไม่ใช่ความสุข เป็นแค่ความสงบ สังเกตแบบเดียวกันกับที่เราสังเกตความสุข แต่เป็นความ สงบ เพราะฉะนั้น สังเกตบรรยากาศของความสงบรอบตัว ทั้งในตัว... คาว่า “ในตัว” จริง ๆ แล้วคือข้าง ในรูปทั้งหมด ไม่ใช่แค่เฉพาะหทัยวัตถุ ข้างในทั้งหมดของรูป ถึงแม้ไม่มีรูปแต่คือบริเวณภายใน ถ้ามีรูป ก็ให้สังเกตข้างในรูปทั้งหมดเต็มไปด้วยความสงบ แล้วบรรยากาศรอบตัวสงบ อันนี้ให้มีเจตนาที่จะ กาหนดรู้แบบนี้ ไม่ใช่แล้วแต่เขาจะเป็นไป แต่ต้องมีเจตนาที่จะรู้ นี่แหละคือมีสติสัมปชัญญะ นี่คือการ กาหนดรู้ว่าขณะนี้เราอยู่ในบรรยากาศแบบไหน ตรงนี้คือการพิจารณาสภาวธรรมที่เกิดขึ้น
แล้วที่บอกว่า เราอยู่ในบรรยากาศแบบไหนก็จะเห็นว่าสภาพจิตของเราเป็นอย่างไร เพราะฉะนั้น จึงบอกว่าเริ่มจากการดูสภาพจิต ดูความรู้สึกก่อน ความรู้สึกภายในรู้สึกสงบ บรรยากาศข้างนอกสงบ แต่ เบากว่า ผิดไหม ? ไม่ผิด ให้รู้ตามที่เขาเป็น ในการกาหนดอารมณ์แล้วมีสภาวะเกิดขึ้น ถ้าสงสัยว่าหมาย ความว่ายังไง นั่นอีกอย่างหนึ่ง แต่ถ้าเข้าไปกาหนดแล้วจิตเราใสขึ้น ใสขึ้น มีกาลังมากขึ้น อันนั้นไม่มีอะไร น่าสงสัยเลย สิ่งที่ต้องรู้ก็คือว่า พอเรากาหนดแล้ว เขาใสขึ้น สงบขึ้น เพราะนั่นคือเหตุที่ทาให้ใสขึ้น สงบขึ้น ไม่ต้องสงสัยว่าทาได้หรือไม่ได้ เพราะเราทาไปเรียบร้อยแล้ว ทาแล้วได้ผลแล้วว่ามันใสขึ้น เพราะฉะนั้น เวลาเล่าสภาวะ เล่าในสิ่งที่ทา และผลที่เกิดขึ้นมาเป็นอย่างไร
แล้วที่ใสขึ้นนี่ ที่อาจารย์ย้าก็คือว่า เราไม่ได้บอกเลยว่าความรู้สึกเราใสขึ้นหรือจิตใสขึ้น รู้แต่ว่า บรรยากาศมนั ใสขนึ้ พดู เสมอวา่ อยา่ เหน็ แคว่ า่ บรรยากาศใสขนึ้ ตอ้ งเหน็ วา่ บรรยากาศของความรสู้ กึ หรอื บรรยากาศของสภาพจิตเรานั้นใสขึ้น ก็กลายเป็นว่าจิตเราใสขึ้น เพราะฉะนั้น ตรงนี้แหละจิตที่ใสขึ้นเขา จะใช้งานได้ แต่ถ้าเป็นแค่บรรยากาศที่ใสขึ้นจะใช้งานยาก แล้วเวลาจะทาให้ใสเหมือนเดิมจะเป็นเรื่องยาก แต่ถ้ารู้ว่าจิตใส...เราไปดูเมื่อไหร่เราจะยกจิตขึ้นสู่ความใสนั้นได้ง่ายขึ้น แล้วจิตที่ใสใช้มาทาหน้าที่รับรู้ อารมณ์ต่าง ๆ ทางตา-ภาพที่เห็น ทางหู-เสียงที่ได้ยิน เอาจิตที่ใสมารับรู้เสียงมารับรูปภาพที่เห็น ตรงนี้คือ ใช้จิตที่ใสมารับรู้อารมณ์ได้
อีกอย่างหนึ่งที่อาจารย์เน้นตรงนี้มาก ๆ ก็คืออยากให้รู้ว่าจิตใสขึ้น เราจะได้รู้ว่าการปฏิบัติธรรม ของเรา ไม่ใช่ปฏิบัติแค่เพื่อความเข้าใจ แต่เมื่อเข้าถึงแล้ว สิ่งที่ต้องรู้ก็คือว่า จิตที่ใส...ใสได้อย่างไร ใสแล้ว ดีอย่างไร สภาพจิตที่ใสมีกิเลสไหม จะเป็นตัวบอกว่าการปฏิบัติธรรมของเราถูกหรือผิด จะเป็นตัวบอกว่า


































































































   825   826   827   828   829