Page 828 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 828

760
การปฏิบัติธรรมของเราดีขึ้นหรือไม่ดีขึ้น ไม่ใช่แค่เข้าใจว่า ถ้าถูก...ต้องเป็นอย่างนั้น ถ้าถูก...ต้องเป็น อย่างนี้ อันนั้นคือความคิดว่าต้องเป็นอย่างที่เขาว่า แต่สิ่งที่ต้องรู้ก็คือว่าสภาวธรรมที่เกิดขึ้นตรงนี้คือจิต ของเราที่กาลังเป็นจริง ๆ
พระพุทธเจ้าสอนถึงรูปนาม/เรื่องกายเรื่องจิต แล้วกายเราเป็นอย่างไร ? จิตเราเป็นอย่างไร ? รูป นามอันนี้เปลี่ยนแปลงอย่างไร ? ที่บอกว่ารูปนามนี้มีตัวตนหรือไม่มีตัวตน บอกว่าเป็นเราหรือไม่เป็นเรา... ทาไมถึงพิจารณาตรงนี้อยู่บ่อย ๆ ? เพราะนี่คือตัวยืนยันความจริง ปัญญาที่เกิดขึ้นจริง ๆ ว่าเราเห็น แบบนั้นจรงิไหมหรือคิดว่าเปน็อย่างนั้นแล้วสภาพจิตเราเปน็อย่างนั้นจรงิไหมปฏิบตัิแล้วเราเหน็อย่างนั้น จริงไหม เราเข้าถึงสภาวะตรงนั้นจริงไหม เมื่อเขาถึงแล้วเขาเป็นอย่างไร ? คาตอบจะเป็นตัวประกาศตัวเขา เองจริง ๆ ว่าเขารู้สึกอย่างนั้นจริง ๆ ไม่ใช่เป็นเพราะความอยากหรือไม่อยาก/เป็นเพราะเข้าใจหรือไม่เข้าใจ นั่นคือสิ่งที่เราเข้าถึงและสิ่งที่เราเป็น
เราปฏิบัติธรรม เราจะเป็นผู้มีธรรม ก็เมื่อธรรมเกิดขึ้นกับเรา เราเป็นผู้รู้ธรรม แต่ถ้าธรรมะไม่เกิด ขึ้นกับเรา เราก็เป็นแค่ผู้รู้ธรรม แต่ไม่ได้เป็นผู้มีธรรม ถ้ามีธรรม แล้วไม่ทาให้เหมาะสมกับธรรมะที่เป็น เราก็จะไม่รู้ว่าคุณค่าของธรรมะสาคัญอย่างไรกับเรา ดีอย่างไร หรือไม่ดีอย่างไร แต่สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นแล้ว ก็คือว่า จิตที่กาลังเป็นอยู่ ตัวเขาเองเขาดี เราจะเข้าใจหรือไม่เข้าใจก็ตาม นั่นคือเขาดีด้วยตัวของเขาเอง รู้สึกสุขก็สุขด้วยตัวของเขาเอง ไม่ว่าจะชอบหรือไม่ชอบ เขาก็สุขด้วยตัวของเขาเอง นั่นคือสภาวธรรม จริง ๆ ที่เกิดขึ้น
ทีนี้ เวลาปฏิบัติ เมื่อคืนก็บอกแล้วว่าให้เน้นเรื่องการเจาะสภาวะให้เยอะ เน้นเรื่องการเจาะสภาวะ มุ่ง... พอบอกให้มุ่งเจาะสภาวะปึ๊บโยคีชักกังวลแล้วว่าจะเจาะยังไง อย่างที่บอกว่าการเจาะสภาวะมุ่งไปรู้ อาการเกิดดับของแต่ละอารมณ์เป็นสาคัญ คาว่า “แต่ละอารมณ์” ในแต่ละบัลลังก์ให้รู้ว่าอารมณ์ที่เกิดขึ้น อาการอะไรที่ชัดที่สุด สมมติว่า ขณะที่เรานั่งกรรมฐาน ต้องเริ่มต้นว่าอารมณ์ปัจจุบันที่กาลังปรากฏเป็น อาการของอารมณ์ไหน เป็นความคิด เป็นเวทนา เป็นความเย็น เป็นความร้อน เป็นอาการเคร่งตึง... ต้อง รู้ชัดแบบนี้ว่า ขณะที่รู้สึกว่ามีอาการเคร่งตึงขึ้นมา พอเข้าไปรู้ อาการเคร่งตึงนั้นเกิดดับอย่างไร เปลี่ยนไป อย่างไร ดับอย่างไร หมดอย่างไร สังเกตตรงนั้นไปเลย ไม่ต้องไปกังวลว่าจะหาอะไรดี
และเมอื่ อาการเครง่ ตงึ ดบั ไปแลว้ มอี าการอะไรเกดิ ตอ่ ? อนั นอี้ ยา่ งหนงึ่ พดู ซา้ ๆ แบบนี้ พดู คา เดมิ เหมอื นเดมิ เลย พดู จนจา ไดแ้ ลว้ ... จา ไดแ้ ลว้ ทา ไดห้ รอื เปลา่ ? เลา่ สภาวะเปน็ ไหม ? ไมใ่ ชว่ า่ รแู้ ลว้ แตไ่ มใ่ สใ่ จ หรือไม่เล่าตามที่เห็น ไม่ทาตามที่รู้ สิ่งที่พูดคือสิ่งที่สาคัญที่สุดสาหรับโยคีที่ต้องทา เพราะฉะนั้น เน้น แต่ละจุดแต่ละจุด เพื่อความชัดเจนสาหรับโยคีผู้ปฏิบัติเอง ว่าทาไมอาจารย์เน้นจุดนี้ ทาไมถึงให้ดูตรงนี้... สังเกตว่าบางครั้งให้ทาแบบเดียวกัน อย่างเช่น พอส่งอารมณ์เสร็จ อาจารย์บอกว่าให้เพิ่มความนิ่งนะ คนที่นั่งอยู่ข้างหลังได้ยิน อ๋อ! คนนี้ให้เพิ่มความนิ่ง พอตัวเองเข้ามา เล่าสภาวะไม่เหมือนกัน แต่อาจารย์ ให้เพิ่มความนิ่งเหมือนกัน เราก็รู้สึกว่า เอ๊ะ! สภาวะไม่เหมือนกัน แล้วทาไมอาจารย์ให้ทาเหมือนกัน!?


































































































   826   827   828   829   830