Page 903 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 903
835
เพราะฉะนั้น เวลาอาจารย์บอก เวลาสอนโยคีนี่นะ ให้เข้าไปรู้ใกล้ ๆ ให้เข้าไปให้ถึง...กลัวจ้อง ไม่ต้องกลัวจ้อง ตอนนี้จ้องไปก่อน อยู่ต่อหน้าอาจารย์นี่จ้องได้เลย จะได้รู้ว่าจ้องแล้วเป็นอย่างไร จะแก้ อาการจ้องได้อย่างไร เพราะว่าถ้ายังบอกไม่ถูกว่า ตัวเองจ้องแบบไหนแล้ว เดี๋ยวกลับไปจ้องอีก เพราะ เคยจ้องมาแล้ว เคยจ้องบ่อย ๆ แล้วจะชานาญแล้ว แล้วก็จะไม่จ้อง แล้วพอจะไม่จ้องก็รู้อาการไม่ชัดอีก กลายเป็นแบบนั้นไป เพราะฉะนั้นนี่ เวลากาหนด พอเราตั้งจิตปึ๊บนี่นะอธิษฐานจิต เวลาอาการขึ้นมาปึ๊บ สังเกตไหมว่า อาจารย์ถามว่า พอยกจิตขึ้นสู่ความว่างได้แล้วนี่นะ ถามว่าจิตที่ว่างนี่นะ สามารถเคลื่อนย้าย ที่ได้ไหม
ที่ถามว่าจิตที่ว่าง จิตที่เบา สามารถเคลื่อนย้ายที่ได้ไหมนี่นะ เพื่อที่จะได้ไม่ต้องจ้อง จะได้เคลื่อน จิตที่เบา ๆ ไปถึงอาการเลย จะได้ไม่ต้องจ้อง เป็นการฝึกวางตาแหน่งของสตินะ ให้จิตที่ว่าง ๆ มาไว้ที่หน้า ให้จิตที่ว่าง ๆ ไปที่สมอง ให้จิตเบา ๆ มาที่บริเวณหัวใจ ไม่ใช่ไปจ้องที่สมอง จ้องหัวใจ ไปจ้องหน้าตัวเอง คือย้ายจิต อันนี้คือการวางตาแหน่งของสติ แล้วเวลามีเวทนาขึ้นมา ก็แทนที่จะไปจ้องเวทนา ก็ย้ายจิตที่ เบา ๆ ไปที่เวทนา ไปคลุมเวทนาก็ได้ ไปซ้อนที่เวทนาก็ได้นะ ทาอย่างใดอย่างหนึ่ง
คือเอาจิตที่ว่าง ๆ นี้เข้าไปรับรู้อยู่ตรงนั้น ลองดูว่าเขาเป็นอย่างไร ตอนนี้ก็เหมือนกัน ลองดูนะจิต ว่าง ๆ นี่นะ ย้ายจิตที่ว่าง ๆ เบา ๆ ไปไว้ที่จุดกระทบที่เรานั่ง จุดกระทบระหว่างตัวกับพื้น จิตที่ว่าง ๆ เบา ๆ ไปซ้อน ไปรองรับจุดกระทบที่นั่งอยู่ ลองดูว่า ตัวรู้สึกอย่างไร แล้วขยายจิตที่เบา ๆ มาบริเวณหทยวัตถุ บริเวณหทยวัตถุจากคอถึงลิ้นปี่ แล้วก็ย้ายจิตที่เบา ๆ ไปที่สมอง ให้ทะลุสมองไป ให้เลยสมองออกไป ไม่ ต้องบังคับหรอก แค่รู้สึก...ใช้ความรู้สึกเข้าไปนะ ย้ายไปแต่ละจุดรู้สึกเป็นอย่างไร นั่นแหละตรงนี้แหละ คือการย้ายจิตที่ว่าง อย่างไม่มีตัวตนในการรับรู้อารมณ์
การวางสติของเราเรา รู้ว่าสติเราอยู่ตรงนี้ อาการเป็นแบบนี้ ตรงนี้เวลาเราใช้...เวลาพิจารณาอาการ พระไตรลกั ษณ์ การรบั รดู้ ว้ ยความรสู้ กึ ทไี่ มม่ ตี วั ตน เราจะเหน็ ชดั ขนึ้ เหมอื นกบั ...สงั เกตดวู า่ ถา้ เราทา จติ ให้ ว่าง แล้วน้อมถึงอานุภาพของพระพุทธเจ้านี่นะ พอจิตมีกาลังมากขึ้น สังเกตที่รูปนี่นะ อาการอะไรชัดขึ้นมา การเต้นของหัวใจ เริ่มเลยว่ามันเริ่มชัดขึ้น ตึ๊บ ๆ ๆ ๆ เป็นสภาวธรรมที่ละเอียดปรากฏขึ้นมา เพียงแต่ว่า ถา้ เราเขา้ ใจวา่ สงิ่ ทกี่ า ลงั ทา สงิ่ ทเี่ รากา ลงั ทา ทกี่ า ลงั ปฏบิ ตั อิ ยนู่ ี้ เรากา ลงั พจิ ารณาอาการพระไตรลกั ษณ์ ของ อารมณ์ รูปนาม ขันธ์ ๕ ของรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ เขาเรียกอารมณ์ทั้ง ๖ แล้วก็รูปนาม ขันธ์ ๕ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เห็นไหม รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ตรงนี้นะ เพื่อ ที่จะพิจารณา
เพราะตรงนี้ที่บอกว่า อาการเหล่านี้เป็นชีวิตของเรา แล้วปัญญาที่จะรู้ถึงการดับทุกข์ รู้ตรงไหน ทา อย่างไรถึงจะไม่ทุกข์ บางทีเรา...ความเข้าใจ หรือการปฏิบัติ เป้าหมายของการรู้ธรรมะ มีเจตนาเพื่อความ ดับทุกข์ แต่เราปฏิบัติธรรม เราไม่ได้อยากดับทุกข์ แต่อยากทาอย่างอื่น เคยไหม ปฏิบัติธรรมแล้วอยากได้ อยา่ งอนื่ แตย่ งั ไมอ่ ยากดบั ทกุ ขแ์ หละ เพอื่ อานสิ งสแ์ กเ่ กดิ ขนึ้ กบั ชวี ติ บางอยา่ งทเี่ กดิ ขนึ้ มนี ะ...ปฏบิ ตั ธิ รรม เพื่อส่งบุญให้คนอื่นแบบนี้ เป็นต้น