Page 93 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 93

25
เป็นอย่างนี้แล้วจะคิดว่าอย่างไร จะเข้าใจว่าอย่างไร เราไปหลงยึดติดอะไร ทาให้จิตเราขุ่นมัวเศร้าหมอง ไม่ผ่องใสไม่เบิกบานไม่อิสระ ไม่พ้นจากเครื่องพันธนาการ คือ โลภะโทสะหรือโมหะ ที่คอยควบคุม ครอบงาชีวิตของคนเรา ให้เวียนว่ายตายเกิดไม่มีที่สิ้นสุด
ลองพิจารณาดูว่า ทาไม เพราะอะไร จึงถูกโมหะครอบงา ทาให้เราไม่สามารถทาความดีได้อย่าง อิสระ ไม่สามารถคิดถึงเรื่องดี ๆ สิ่งดี ๆ ได้อย่างเป็นอิสระ ทาให้จิตที่เป็นกุศลทาหน้าที่อย่างอิสระ เพราะ การที่เราพัฒนาสติยังไม่เพียงพอ หรือกาลังของสติเรายังอ่อน ปัญญาเรายังไม่แยบคายพอ กาลังของสมาธิ ยังไม่ตั้งมั่นพอ เพราะฉะนั้นการปฏิบัติธรรม การเจริญกรรมฐาน การเจริญภาวนาของเรา การที่เรามีสติ สมาธิปัญญา พิจารณาถึงความจริงข้อนี้เป็นส่วนสาคัญ เมื่อไหร่ที่เรามีปัญญารู้ชัดตามความเป็นจริง จิต คลายจากอุปาทาน ความสงบก็จะเกิดขึ้นได้ง่าย มีปัญญาขึ้นมา สติสัมปชัญญะก็จะมีความชัดเจน เมื่อมี สติสัมปชัญญะขึ้นมา ปัญญาก็เกิด
จริง ๆ แล้ว ๓ อย่างนี้ อาศัยกันอยู่เสมอ สติสมาธิปัญญา เมื่อเราพิจารณาความเป็นจริง ความ เป็นไปของรูปนามขันธ์ ๕ สติสมาธิปัญญาก็มาด้วยกัน กลายเป็นว่า มรรคมีองค์ ๘ เดินทางไปพร้อม ๆ กัน สติสมาธิปัญญา ที่เราเรียกว่าศีลสมาธิปัญญา การมีสติสมาธิก็ทาให้เราสารวมกายวาจา เมื่อมีปัญญา พิจารณาถึงความเป็นไปถึงธรรมชาติของรูปนาม รู้ถึงเหตุและผลว่าสิ่งที่เข้ามากระทบ สิ่งที่ทาออกไป สิ่ง ไหนที่ทาแล้ว ส่งผลต่อ ทาให้เกิดความวุ่นวาย แม้แต่ต่อตัวเองและต่อผู้อื่น การรู้จักสารวมกายวาจาที่จะ นามาซึ่งความวุ่นวาย ความทุกข์ทั้งตนเองและผู้อื่นนั่นคือตัวศีล ที่เรารู้จักสารวมกายวาจา ยิ่งสิ่งสาคัญ คือการสารวมจิต ไม่คิดเรื่องที่เป็นอกุศล ทาให้จิตขุ่นมัวเศร้าหมอง มองในส่วนที่ดี มีปัญญาพิจารณาถึง ค ณุ ป ร ะ โ ย ช น ท์ เี ่ ก ดิ ข นึ ้ อ ะ ไ ร ท เี ่ ป น็ ป ร ะ โ ย ช น ์ อ ะ ไ ร ไ ม ใ่ ช ป่ ร ะ โ ย ช น ์ ป ร ะ โ ย ช น เ์ ก ดิ ข นึ ้ อ ย า่ ง ไ ร ป ร ะ โ ย ช น ก์ บั ใ ค ร ป ร ะ โ ย ช น ก์ บั ต วั เ ร า เ อ ง ก ค็ อื ค ว า ม เ ป น็ ก ศุ ล ข อ ง จ ติ ท มี ่ คี ว า ม เ จ ร ญิ ง อ ก ง า ม อ ย า่ ง ต อ่ เ น อื ่ ง ค ว า ม ด ที มี ่ อี ย แ่ ู ล ว้ เจริญมากขึ้น ประโยชน์ต่อคนอื่นก็คือ ไม่เบียดเบียนทาให้เกิดความทุกข์ เกิดความขุ่นมัว เกิดความทุกข์ ขึ้นมา เกิดความเศร้าหมองจิต ประโยชน์ต่อสังคมก็คือ ความรู้สึกอยู่อย่างสงบสุข
เพราะฉะนั้นการพิจารณาสภาวธรรมที่เป็นจริงที่เกิดขึ้น การพิจารณารูปนามขันธ์ ๕ ความเป็นไป ตามธรรมชาติ ของรูปนามขันธ์ ๕ อายตนะทั้ง ๖ ที่มีผลกระทบจากรูปเสียงกลิ่นรสสัมผัสธรรมารมณ์ที่ เกิดกับใจ มีอารมณ์เข้ามากระทบ การรับรู้ เรารับรู้ด้วยสติสมาธิปัญญา รู้ทันอารมณ์ที่เกิดขึ้น หรือว่าเรา จะรู้ที่ถูกครอบงาด้วยอวิชชา จึงนามาซึ่งความทุกข์ เพราะฉะนั้นการพิจารณาความจริงข้อนี้เป็นสิ่งสาคัญ
ทีนี้เมื่อรู้ความจริงข้อนี้แล้ว เพื่อการเดินทาง ในการเดินทางไปสู่ความดับทุกข์ได้ง่ายขึ้น ให้เรามา สนใจพิจารณาอาการพระไตรลักษณ์ อาการเกิดดับของทุก ๆ อารมณ์ที่เกิดขึ้น ที่กาลังปรากฏอยู่เฉพาะ หน้าเรา ไม่ว่าจะเป็นเวทนาตัวสัญญาตัวสังขารวิญญาณ การปรุงแต่ง อาการเกิดดับต่าง ๆ ที่ปรากฏขึ้น อยู่เฉพาะหน้าเรา แม้แต่ตัวสภาพจิตเอง มีความสุขมีพลังมีความสว่างมีความผ่องใส หรือมีความขุ่นมัว ก็เข้าไปรู้ถึงการเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไป รู้ความเปลี่ยนแปลง ลองพิจารณาสภาวธรรมที่กาลังปรากฏอยู่ขณะนี้ เดี๋ยวนี้ ว่าเป็นไปในลักษณะอย่างไร


































































































   91   92   93   94   95