Page 94 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 94
26
เป้าหมายของการปฏิบัติ ที่เป็นไปเพื่อความดับทุกข์ หรือเพื่อมรรคผลนิพพาน ที่เราปรารถนา ก็คือการพิจารณาอาการพระไตรลักษณ์ การรู้อาการเกิดดับของแต่ละอารมณ์ที่เกิดขึ้น การที่เราสนใจถึง การเกิดดับของรูปนาม ของสภาวธรรมที่กาลังปรากฏ เป็นการสนใจใคร่พิจารณาถึงความเป็นไปนั้น จะไม่ ประกอบด้วยการปรุงแต่ง ไม่ได้ปรุงแต่งว่าอยากให้เป็นอย่างนั้น อยากให้เป็นอย่างนี้ แต่มีสติสมาธิปัญญา เข้าไปพิจารณาถึงการเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไป ผลกระทบที่เกิดขึ้นมา ยิ่งเห็นการเกิดดับของรูปนามมากเท่าไหร่ ส่งผลต่อสภาพจิตใจเป็นอย่างไร
คาว่ารูปนามในที่นี้ หมายถึงว่าอาการเกิดดับที่เกิดขึ้นกับจิตที่ทาหน้าที่รู้ ๒ อย่างนี้ สังเกตไป ควบคู่กัน เวลาอาการเกิดดับอย่างใดอย่างหนึ่งปรากฏขึ้นมาเฉพาะหน้า เมื่อมีสติเข้าไปกาหนดรู้หรือเอา จิตเข้าไปกาหนดรู้ เวลาอาการเหล่านั้นดับ จิตที่เข้าไปกาหนดรู้ดับด้วยหรือไม่ ตรงนี้จะเห็นอาการเกิดดับ ของรูปนามไปพร้อม ๆ กัน เราพิจารณาสองอย่างนี้แหละเป็นสิ่งสาคัญ ไม่ว่าอาการนั้นจะเป็นรูปเป็นเสียง เป็นกลิ่นเป็นรส เป็นนิมิตต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็นความเย็นความร้อน อาการเคร่งตึง ความหนัก ความเบา ความสงบความมั่นคง ความผ่องใสความสว่าง ให้มีสติกาหนดรู้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เกดิ ดบั อยา่ งไร นนั่ คอื จดุ ทตี่ อ้ งพจิ ารณา เราพจิ ารณาแบบนเี้ ปน็ สา คญั ไมว่ า่ สภาวะนนั้ จะเปน็ อยา่ งไร จะชดั จะจางจะบางจะเบา ก็ขอให้ใส่ใจเข้าไปกาหนดรู้ ที่สาคัญคือ สติสัมปชัญญะ สติของเราต้องมีความชัดเจน ในอารมณ์ที่ปรากฏ ไม่ว่าอารมณ์นั้นจะมีความเบาบางละเอียดอ่อนแค่ไหนก็ตาม เมื่อสติสัมปชัญญะ มีความชัดเจน นั่นถือว่าชัดเจน ชัดเจนแบบที่เขาเป็น แต่ถ้าสติสัมปชัญญะเกิดความขุ่นมัว คลุมเครือ สลัว ๆ ไม่ตื่นตัว นั่นแสดงว่าสติเราไม่มีกาลัง สติสัมปชัญญะไม่มีกาลัง
เพราะฉะนั้นสภาวะจะเป็นอย่างไรก็ตาม นั่นคือธรรมชาติที่เขากาลังเป็น แต่สิ่งที่เราต้องพัฒนาคือ สติสมาธิปัญญาของเรา ที่เราพัฒนาได้ ที่เราสามารถกาหนดได้ กาหนดได้อย่างไร สมาธิคือความตั้งมั่น ความนิ่ง ความตั้งมั่นของจิต เราสามารถยกได้กาหนดได้ เพิ่มความนิ่งเพิ่มความมั่นคงให้กับจิตได้ สติ... เราสามารถกาหนดได้พัฒนาได้ เพิ่มความตื่นตัวให้กับจิตของเรา จิตที่ตั้งมั่นและมีความตื่นตัว ก็จะมี ทั้งสติสมาธิ เมื่อสติกับสมาธิสมดุลกัน พร้อมกับการใส่ใจมีเจตนาที่จะรู้ชัดถึงอารมณ์ที่กาลังปรากฏ ถึง อาการเกิดดับของอารมณ์ที่กาลังปรากฏ ปัญญาก็จะตามมา เขาเรียกภาวนามยปัญญา คือการเห็นอาการ พระไตรลกั ษณ์ ของอารมณข์ องรปู นามทกี่ า ลงั เปน็ ไปอยใู่ นปจั จบุ นั วา่ มกี ารเปลยี่ นแปลงมกี ารเกดิ ดบั อยา่ งไร
ม คี ว า ม ช ดั เ จ น เ ป ล ยี ่ น ไ ป อ ย า่ ง ไ ร เ พ ร า ะ ฉ ะ น นั ้ ส ต สิ ม า ธ ปิ ญั ญ า ต ร ง น แี ้ ห ล ะ ท เี ่ ร า ต อ้ ง พ ฒั น า ใ ห ด้ ยี งิ ่ ๆ ข นึ ้ ไ ป
ก า ร ท เี ่ ร า จ ะ พ ฒั น า ส ต สิ ม า ธ ปิ ญั ญ า ต ร ง น ี ้ ล อ ง ด สู วิ า่ เ ร า พ ฒั น า อ ย า่ ง ไ ร ท จี ่ ร งิ แ ล ว้ ท กุ ค ร งั ้ ท เี ่ ร า ม เี จ ต น า ทุกครั้งที่เรามีเจตนาและใส่ใจที่จะเข้าไปรับรู้ทจี่ะเข้าไปรับรู้กาหนดรู้ถึงการเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไปนั่นแหละ คอื การพฒั นาสตสิ มาธปิ ญั ญาไปในตวั เปน็ การพจิ ารณาสตสิ มาธปิ ญั ญาไปในตวั เพราะอะไร การทเี่ รามสี ติ สมาธิ มีเจตนาใส่ใจพิจารณาถึงความเป็นไปถึงอาการพระไตรลักษณ์ สติสมาธิหรือปัญญาก็จะแยบคาย มี ความละเอยี ดมากขนึ้ เหน็ สภาวะไดช้ ดั เจนยงิ่ ขนึ้ ถงึ แมส้ ภาวะนนั้ จะมคี วามละเอยี ดแคไ่ หนกต็ าม กจ็ ะเหน็ ชัดเหมือนเห็นด้วยตา เหมือนเห็นด้วยตาเปล่าไม่ใช่มานั่งคิดอย่างเดียว นี่แหละคือปัญญาที่แท้จริง เป็น สิ่งสาคัญให้เราคลายอุปาทานอย่างสิ้นเชิงหรือเป็นสมุจเฉท ในบางสภาวะที่เกิดขึ้น