Page 91 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 91

23
ส่วนไหนบ้าง ขันธ์อันไหนบ้างที่บอกว่าเป็นเรา ถ้าพิจารณาเห็นชัดถึงความเป็นคนละส่วนแยกส่วนกัน จิต ที่ทาหน้าที่รู้กับรูปที่นั่งอยู่เป็นคนละส่วนกันเราจะเหน็เลยว่าจิตที่ทาหน้าที่รู้เขาไม่บอกว่าเป็นเรารูปที่นั่ง อยู่ไม่บอกว่าเป็นเรา
นี่เริ่มเห็นชัดถึงการแยกรูปแยกนาม และผลที่ตามมาเป็นอย่างไร เมื่อมีสติสมาธิหรือเมื่อมีปัญญา เห็นในลักษณะอย่างนี้แล้ว ลองดูการได้เห็นความจริงแบบนี้ ดูสิว่าสภาพจิตใจจะเป็นอย่างไร มีอะไรบ้าง บอกวา่ เปน็ เรา เมอื่ ๒ อยา่ งนไี้ มบ่ อกวา่ เปน็ เรา แลว้ เวทนาสญั ญาสงั ขาร เวทนาทเี่ กดิ ขนึ้ ไมว่ า่ จะเปน็ เวทนา ทางกาย เวทนาทางใจก็ตาม ลองดูว่า ๒ ขันธ์นี้ มีส่วนไหนบ้างที่บอกว่าเป็นเรา เวทนาเจ็บปวดเมื่อยชาคัน รู้สึกดีไม่ดี รู้สึกสุขทุกข์ รู้อุเบกขาที่เกิดขึ้นมา ที่กาลังเป็นอยู่นี้ สภาพจิตใจเป็นอย่างไร สภาพจิตใจรู้สึก ทุกข์ อุเบกขา มีความสงบ มีความผ่องใส มีความเบิกบาน เป็นเวทนาทางจิต เป็นเวทนาทางจิต เวทนา ทางกาย คือการเจ็บปวดเมื่อยชาคัน เพราะฉะนั้นลองพิจารณาดูว่า แม้แต่เวทนาเหล่านั้น บอกว่าเป็นเรา หรือเปล่า ในเมื่อเราเห็นว่ารูปตัวที่นั่งอยู่กับจิตที่ทาหน้าที่รู้ ไม่ได้บอกว่าเป็นเรา เป็นของเรา เป็นใคร นี่คือ การพิจารณาเรื่องของธรรมชาติของขันธ์ ธรรมชาติของขันธ์จริง ๆ ที่เรา คนเรา มักจะคิดว่าเป็นตัวเรา ของเรา โดยสมมติ เป็นตัวเราเป็นเขาเป็นเราโดยสมมติสัจจะ เป็นความจริงโดยสมมติที่มีการสื่อสารกัน
แต่สาหรับบุคคลผู้ปฏิบัติธรรม ผู้พิจารณาที่จะออกจากทุกข์ ต้องคลายจากอุปาทานตรงนี้ ต้อง เหน็ ความจรงิ ขอ้ นวี้ า่ รปู นามขนั ธ์ ๕ ไมใ่ ชส่ ตั วบ์ คุ คลตวั ตนเราเขา ไมไ่ ดบ้ อกวา่ เปน็ เราเลย กา ลงั เปน็ ไปตาม เ ห ต ตุ า ม ป จั จ ยั อ ย เ่ ู น อื ง น ติ ย ์ เ ป น็ ไ ป ต า ม เ ห ต ปุ จั จ ยั เ ห ต ปุ จั จ ยั อ ตุ อุ า ห า ร อ า ก า ศ แ ล ว้ ก เ็ ว ล า น เี ้ ป ล ยี ่ น แ ป ล ง ไ ป เปลี่ยนไปตามกาลเวลา ร่างกายนี้ก็เสื่อมโทรมไปตามเหตุปัจจัย เหตุปัจจัยต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมาก็เปลี่ยน แปลงไป จติ ของเรากต็ ามทที่ า หนา้ ทรี่ เู้ ขาเปลยี่ นแปลงไป ตามเหตปุ จั จยั เชน่ เดยี วกนั ตามกา ลงั ของสตสิ มาธิ ปัญญา ของแต่ละคนแต่ละขณะไป ตามกาลังของแต่ละขณะไป ว่าส่งผลต่อสภาพจิตใจอย่างไร
แต่เมื่อเราเห็นอย่างนี้ ถึงแม้อาจารย์จะใช้คาว่าเราเป็นประธาน แต่ในที่นี้หมายถึงว่า การรับรู้อย่าง ไม่มีตัวตน มีสติสมาธิปัญญา รับรู้ถึงความเป็นคนละส่วนระหว่างรูปกับนาม ไม่ได้บอกว่าเป็นเราเป็นเขา ก็พิจารณาอีก ๓ ขันธ์ ในรูปแบบในลักษณะเดียวกัน ว่าขันธ์ทั้ง ๓ ไม่ว่าจะเป็นเวทนาสัญญาหรือสังขาร ก็ตาม ความจาหรือการปรุงแต่งที่เกิดขึ้น มีส่วนไหนบ้างที่บอกว่าเป็นเรา มีขันธ์ตรงไหนบ้างที่บอกว่าเป็น เรา แลว้ เมอื่ ไมบ่ อกวา่ เปน็ เรา เหน็ ชดั ถงึ ความเปน็ จรงิ ขอ้ นแี้ ลว้ จะเขา้ ใจวา่ อยา่ งไร จะสา คญั วา่ อยา่ งไร ควร หรือไม่ที่จะเข้าไปยึดว่าเป็นตัวเราของเรา
แต่ขันธ์ทั้ง ๕ เหล่านี้เกิดขึ้น การที่จะเข้าไปยึดก็ไม่ได้ชัดทีเดียวพร้อมกัน บางครั้งเราไปยึดเวทนา วา่ เปน็ เรา เมอื่ มผี สั สะทางตาหจู มกู ลนิ้ กายใจเกดิ ขนึ้ เกดิ เวทนาขนึ้ มา เปน็ ทกุ ขเวทนาสขุ เวทนา หรอื อเุ บกขา เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็เข้าไปยึดว่าเวทนาเป็นตัวเราเป็นของเรา และปรุงแต่งต่อ จะเป็นสังขารปรุงแต่ง ต่อด้วยตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะก็ตามมา การไหลเวียนไปตามเหตุปัจจัย วงจร ต่าง ๆ ก็ตามไป ถ้าไม่มีปัญญาพิจารณาตามความเป็นจริง เมื่อมีผัสสะเกิดขึ้นมา โดยธรรมชาติ ขันธ์ทั้ง ๕ ประกอบด้วยอายตนะ ๖ ตาหูจมูกลิ้นกายใจ เมื่อมีตาหูจมูกลิ้นกายใจ ผัสสะต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทางตาหูจมูก


































































































   89   90   91   92   93