Page 89 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 89

21
การดาเนินชีวิตทุกวันนี้ การทากิจการงานต่าง ๆ ก็เพื่อการดารงของชีพนี้ ให้อยู่ในโลกนี้อย่างมี ความสุข เกิดความสะดวกสบายไม่อัตคัดขาดแคลน ไม่ลาบากยากเข็ญจนเกินไป เพื่อความสะดวกสบาย ของชีวิต นั่นคือเพื่อความเป็นอยู่ในโลกนี้อย่างมีความสุข แต่การเป็นอยู่ในโลกนี้ความสุขอย่างเดียว...ไม่ ได้ไม่พอ เพราะอะไร กรรมที่เราทาอยู่ในโลกนี้ ถ้าเราไม่มีความปรารถนาที่จะออกจากทุกข์ ยังวนเวียนอยู่ ในวฏั สงสาร กย็ งั เกดิ ชาตหิ นา้ โลกหนา้ ยงั มกี ารเกดิ ตอ่ ไป กย็ งั วนเวยี นไปมาเจอสภาพการเวยี นวา่ ยตายเกดิ ไม่พ้นจากวัฏสงสาร ก็ยังมีความทุกข์อยู่ร่าไปนั่นเอง
เพราะฉะนนั้ การทเี่ รามาปฏบิ ตั ธิ รรม เรามเี วลาไมเ่ ยอะ มเี วลาไมม่ าก แตก่ ารทเี่ รามเี วลาไมม่ าก ถา้ เรามีความตั้งใจแน่วแน่นะ ตั้งใจแน่วแน่มีเป้าหมายที่ชัดเจน เพราะนิพพานใช้ปัญญาในการเดินทาง ใช้สติ สมาธิปัญญาในการเดินทาง กาลังของบุญกุศลที่เราได้ทา กับปัญญาที่เรามี สติที่เรามีนี่เป็นเรื่องสาคัญ
ถา้ อยา่ งนนั้ การเดนิ ทางไปสเู่ ปา้ หมาย เพอื่ ความดบั ทกุ ขห์ รอื มรรคผลนพิ พานนนั้ ทา อยา่ งไร เรามา ปฏบิ ตั ธิ รรม นงั่ กรรมฐานปฏบิ ตั ไิ ปพรอ้ ม ๆ กนั สานตอ่ จากธรรมะทเี่ ราไดเ้ คยปฏบิ ตั มิ า จะใชเ้ วลาประมาณ สักชั่วโมงหนึ่งนะ ฟังไปปฏิบัติไป ทบทวนสภาวธรรมไป ตามที่สภาวธรรมที่ปรากฏ เราอาจจะได้ยินได้ฟัง ธรรมะหลากหลายมากมาย คาว่านิพพาน นิพพานมีชื่อเรียกหลายอย่างนะ มีชื่อเรียกหลายอย่าง ความ ว่างก็เป็นนิพพานอย่างหนึ่ง แต่นิพพานจริง ๆ แล้ว คาว่าดับทุกข์อย่างสิ้นเชิง เราจะดับทุกข์อย่างสิ้นเชิง ได้อย่างไร กลายเป็นว่าเราดับทุกข์อย่างสิ้นเชิงได้ ต่อเมื่อละกิเลสได้อย่างสิ้นเชิงเช่นเดียวกัน เพราะฉะนั้น หลักการในการปฏิบัติ ในการปฏิบัติวิปัสสนา การปฏิบัติเพื่อที่จะละ จึงมาพิจารณาธรรมชาติของรูปนาม ขันธ์ ๕ มาพิจารณาอาการ มาพิจารณาธรรมชาติของรูปนามขันธ์ ๕ ความเป็นธรรมชาติของรูปนามขันธ์ ๕ อย่างหนึ่ง ตามกฎของธรรมชาติของรูปนามขันธ์ ๕ อีกอย่างหนึ่ง
ธรรมชาติของรูปนามขันธ์ ๕ เรารู้อยู่ว่าธรรมชาติของรูปนามขันธ์ ๕ รูปนามขันธ์ ๕ นี่คืออะไร รูปนามขันธ์ ๕ รวมกันมาเป็นชีวิตของสรรพสัตว์ต่าง ๆ ของมนุษย์ของบุคคล ของเราหรือของสรรพสัตว์ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอยู่บนโลกใบนี้ ก็ประกอบด้วยขันธ์ ๕ เพราะมีรูปมีนามมีกายมีใจ หรือมีกายกับจิตนั่นเอง กายกับจิตเรานี้นี่แหละเป็นที่ตั้งของอุปาทาน เป็นที่ตั้งของความหลง เป็นปัจจัยให้เราเข้าไปยึด ถ้าไม่มี ปัญญาเข้าไปยึดว่าเป็นตัวเราของเรา โลกเป็นของเรา เวทนาเป็นของเรา สัญญาเป็นของเรา สังขารเป็นของ เรา วิญญาณเป็นเรา นั่นแหละคือรูปนามขันธ์ ๕ กลายเป็นชีวิตอันนี้ ที่บุคคลผู้หลง มีอวิชชาครอบงาจะ เข้าไปยึดว่าเป็นตัวเราของเราอยู่เสมอ นี่คือความจริงของรูปนามขันธ์ ๕ แต่ความจริงโดยสัจธรรมแล้ว พระพุทธองค์ตรัสว่า รูปนามขันธ์ ๕ ไม่ว่าจะเป็นรูปเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณ ร่างกายจิตใจ ความเจ็บ ปวดเมื่อยชา ความเย็นร้อนอ่อนแข็งแรง เคร่งตึงหนักเบา เหล่านี้ ขันธ์ทั้ง ๕ แม้แต่ตัววิญญาณรู้เอง ก็ไม่ ได้บอกว่าเป็นเรา ล้วนตั้งอยู่ ล้วนเป็นอนัตตา ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา
เพราะฉะนนั้ การทจี่ ะเหน็ ความจรงิ อยา่ งทพี่ ระพทุ ธองคต์ รสั เราจะเหน็ ไดอ้ ยา่ งไร ถา้ เราไมพ่ จิ ารณา ด้วยปัญญาอันแยบคาย พิจารณาด้วยปัญญาอันแยบคาย เราพิจารณาด้วยปัญญาอันแยบคายอย่างไร พิจารณาดูว่าจิตที่ทาหน้าที่รู้กับรูปอันนี้เป็นส่วนเดียวกันหรือไม่ เป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน การ


































































































   87   88   89   90   91