Page 90 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 90

22
ทบทวนพิจารณาอยู่เนือง ๆ ทาให้เรามีปัญญา ทาให้เราเห็นชัดถึงความเป็นจริงของรูปนามขันธ์ ๕ ว่า จริง ๆ แล้ว ตรงไหนบ้างที่บอกว่าเป็นของเรา อะไร ขันธ์ตรงไหน ที่เราเข้าไปยึดและทาให้เกิดความขุ่นมัว เศร้าหมองของจิตใจเรา ขันธ์ตรงไหนที่เราเข้าไปยึด ตรงไหนที่เราปล่อยวางได้ หรือทาไมเราถึงเข้าไปยึด ขันธ์อันนั้น ว่าเป็นตัวเราของเรา และทาให้เกิดความขุ่นมัว ความเศร้าหมองเกิดขึ้นกับจิตใจของเรา
เพราะฉะนั้นการที่จะพิจารณาเห็นตรงนี้ นี่คือการต้องเริ่มต้นด้วยการแยกรูปแยกนาม แยกกาย แยกจิต การแยกกายและจิตก็เป็นปัญญาอย่างหนึ่ง ถามว่าปัญญาจะเกิดขึ้นได้อย่างไร ปัญญาก็เกิดขึ้น จากการมนสิการ การใส่ใจ พิจารณาถึงความเป็นจริงอยู่ขณะนี้เดี๋ยวนี้ว่า รูปที่นั่งอยู่กับจิตที่ทาหน้าที่รู้ เขา เป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน เพื่ออะไร เพื่อเราจะได้เห็นความจริงของขันธ์ทั้ง ๕ นั่นเอง เราจะได้ เห็นจริงตามที่พระองค์ตรัสเอาไว้ ว่ารูปเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณ ตั้งอยู่ในกฎของไตรลักษณ์ คือ ความเป็นอนิจจังทุกขังอนัตตา ไม่ได้บอกว่าเป็นเราเป็นเขาเป็นใคร การที่เราใส่ใจพิจารณาอย่างนี้เนือง ๆ ชัดเจน ความเห็นชัด ปัญญาที่เราเข้าถึงความเป็นจริง เห็นตามความเป็นจริง ตรงนี้จะทาให้จิตเราคลาย จากอุปาทาน
ตรงนี้ถึงเรียกว่า ละอวิชชาในระดับหนึ่ง ละอวิชชา อวิชชาคือความไม่รู้ ไม่รู้เพราะไม่เห็น หรือเห็น แล้วแต่ไม่รู้ เพราะไม่พิจารณา การพิจารณาธรรม จึงเป็นสิ่งสาคัญที่เรียกว่าธัมมวิจยะ การสอดส่องธรรม หรือการวิจัยธรรม เราทาวิจัยอย่างไร เราไม่ได้แสวงหาสิ่งใหม่เลย แต่เราพิจารณาธรรมที่กาลังปรากฏ ที่เป็นปัจจุบันอยู่จริง ๆ ขณะนี้เดี๋ยวนี้ ว่าเป็นจริงอย่างที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ไหมว่า ขันธ์ทั้ง ๕ ไม่ใช่ตัวตน ไม่ใช่เรา เริ่มต้นด้วยการพิจารณาดูรูป ดูนามดูกายดูจิตนี่แหละ การแยกรูปแยกนาม เราแยกได้ ไม่ใช่ แยกได้ด้วยความอยาก แต่แยกได้ด้วยปัญญา ด้วยการพิจารณาความจริงที่เป็นอยู่ทุกวัน ที่เป็นอยู่ขณะนี้ ปัจจุบันขณะนี้ เป็นอย่างนี้ และตลอดทั้งวัน ทุกวันนี้เขาเป็นอยู่อย่างไร ที่ผ่านมาเป็นอย่างไร เขาทาหน้าที่ แตกต่างกันอย่างไร ทาไมคนเราถึงเผลอหลงเข้าไปยึด ว่าเป็นตัวเราของเรา แล้วก็แบกเอาความเชื่อความ คิดต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมา ทาให้เป็นทุกข์เกิดขึ้น
ลองดเู มอื่ เราพจิ ารณาเหน็ ตรงนี้ รปู นามเปน็ คนละสว่ นกนั รปู กบั นามเปน็ คนละสว่ นกนั เหมอื นเรา เห็นถึงความจริงอย่างหนึ่งก็คือว่า รูปขันธ์ วิญญาณขันธ์ นามที่พูดถึงนี้คืออะไร นามที่พูดถึงก็คือ ตัวจิตรู้ หรือตัววิญญาณรู้ หรือที่เรียกว่าธาตุรู้นั่นเอง แม้จะเรียกว่าสติก็ตาม เพราะฉะนั้นจิตที่ทาหน้าที่รู้กับตัว ที่นั่งอยู่ เขาเป็นคนละส่วนกัน เขาบอกอะไรกับเรา ถ้าเราไม่พิจารณาเราก็จะเห็นแต่ว่า รู้แต่ว่าเราทาหน้าที่ ให้รูปกับนามแยกส่วนกัน แต่ถ้าเราไม่พิจารณาดูว่ารูปนามที่แยกส่วนกันนี้ มีส่วนใดบ้าง มีขันธ์ไหนบ้าง ทบี่ อกวา่ เปน็ ของเรา รปู บอกวา่ เปน็ เราไหม เวทนาบอกวา่ เปน็ เราไหม จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ บู้ อกวา่ เปน็ เราหรอื เปลา่ จิตที่ทาหน้าที่รู้ถึงรูปที่นั่งอยู่ เขาบอกว่าเป็นเราหรือเปล่า
ทถี่ ามแบบนี้ คอื เราพจิ ารณาดว้ ยจติ ทเี่ ปน็ กลาง เราจะไดพ้ จิ ารณาดว้ ยจติ ทเี่ ปน็ กลาง ไมใ่ ชว่ า่ คดิ วา่ เราเข้าใจว่า เขาไม่บอกว่าเป็นเรา ไม่คิดว่าเป็นเรา บอกว่าไม่ใช่ของเรา แต่การที่พิจารณาถามว่าเขาบอก ว่าเป็นเราไหม เราก็พิจารณาเป็นผู้ดูเป็นผู้พิจารณา ไม่มีเรามีแต่สติสมาธิปัญญา พิจารณาว่า ๒ อย่างนี้


































































































   88   89   90   91   92