Page 25 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การเจาะสภาวะ
P. 25

203
ความสาคัญของการเจาะสภาวะ ทาไมถึงต้องเจาะสภาวะ ? โดยธรรมชาติของคนเรา เกิดมาแล้ว เราจะยึดติดกับสมมติบัญญัติ ความเป็นบัญญัติ ความเป็นกลุ่มก้อน ความเป็นเรื่องราว เหมือนเห็นตัวก็ เป็นตัวเรา เป็นกลุ่มก้อนเป็นแขนเป็นขาตลอดเวลา ตรงนี้แหละเพราะการที่เรารู้แบบธรรมดา เห็นรูปเห็น หน้าเห็นตาเป็นรูปร่างทั้งหมดเลย ก็ไปยึดติดว่าเป็นของเรา และถามว่า การที่เราใช้ตาดู เห็นเซลล์เราเกิด ดับไหม ? ไม่เห็น! บางทีเราอาบน้าถูขี้ไคลออกมา เราก็ไม่รู้ว่าเป็นขี้ใคร รู้แต่ว่าเป็นขี้ไคล ขี้เราหรือว่าขี้ใคร แต่ก็เป็นขี้ไคลอยู่ดี... ขี้ไคลเป็นอะไร ? ผิวหนังที่มันลอกหรือมันหลุดออกมา มันตายเสื่อมไปสลายไป นี่ คือการดับของรูป
ทีนี้ เวลาเราพิจารณาอาการเกิดดับของรูปหรือการเกิดการตาย เราเห็นการเกิดการตายของตัวเอง ไหม ? เปลา่ เลย! เราเหน็ การเกดิ การตายของคนอนื่ ของรปู ภายนอก ทเี่ กดิ ขนึ้ แลว้ ดบั ไป มแี ลว้ หายไปเสอื่ ม ไปสลายไป... แตก่ ารเจาะสภาวะ คอื การพจิ ารณา “อาการของรปู นามอนั น”ี้ ทเี่ รยี กวา่ เปน็ ตวั เรา เพราะสว่ น ใหญ่เวลาคนเรามีอุปาทาน ไปยึดรูปนามคนอื่น หรือยึดรูปนามอันนี้ ? ก็ยึดรูปนามหรือกายใจอันนี้ เพราะ ฉะนนั้ กายใจอนั นนี้ แี่ หละทเี่ ราจะไดเ้ หน็ ชดั ถงึ ความเปน็ จรงิ จงึ ตอ้ งเขา้ ไปรใู้ นรายละเอยี ด ตรงนเี้ ปน็ บญั ญตั ิ ที่เป็นที่อาศัยของปรมัตถ์ ซึ่งเป็นสภาวธรรมที่ละเอียดยิ่งขึ้น
แล้วจะทาอย่างไรให้เห็นสภาวธรรมที่ละเอียด ? ก็ต้องใส่ใจกาหนดรู้ให้ลึกซึ้ง ให้แนบแน่น ให้ต่อ เนื่องนั่นเอง จริง ๆ แล้วการเจาะสภาวะเป็นหลักของวิปัสสนาที่มุ่งไปรู้อาการพระไตรลักษณ์ คือการเกิด ดับที่กาลังปรากฏขึ้นจริง ๆ ยกตัวอย่างง่าย ๆ เวลาเรากาหนดลมหายใจของเรา ถ้าเราดูห่าง ๆ เราก็จะรู้สึก ว่าลมหายใจมันไปเรื่อย ๆ เข้า-ออกเป็นเรื่องปกติธรรมชาติ ตรงนี้เรายังไม่ได้เจาะสภาวะ เพียงแต่ตามรู้ ลมหายใจไปเรื่อย ๆ (แค่นั้นเอง) แล้วการเจาะสภาวะทาอย่างไร ? คาว่า “เจาะสภาวะ” ก็คือจิตเข้าไปสังเกต “ในอาการ” ของลมหายใจ...
สมมติว่า เขาเป็นลาเป็นเส้นออกไป ข้างในนั้นเขา “มีอาการอย่างไรอีก” ? อันนี้ขึ้นอยู่กับสติของ แต่ละคนนะ ที่ถามว่า “เขามีอาการอย่างไร เขาเปลี่ยนแปลงอย่างไร ต่างจากเดิมอย่างไร” ถ้าสติมีกาลังมาก ขึ้น ก็จะเห็นว่าในลมหายใจเข้าครั้งหนึ่งมีอาการแบบนี้ ลมหายใจออกครั้งหนึ่งเขามีอาการแบบนั้น นั่นคือ เขา้ ไปพจิ ารณาสภาวะทลี่ ะเอยี ดขนึ้ อกี ในลมหายใจอนั นนั้ ในอาการของลมหายใจเองยงั มกี ารเปลยี่ นแปลง เกดิ ดบั ทตี่ า่ งจากทเี่ รารตู้ ามปกตธิ รรมดา ตรงนแี้ หละถา้ เราอยากจะเหน็ ถงึ ความแตกตา่ งออกไป กต็ อ้ งใสใ่ จ เข้าไปกาหนดรู้รายละเอียด สังเกตให้มากขึ้น ตรงนี้ที่เรียกว่า “เจาะสภาวะ”
ทีนี้ถามว่า “เจาะสภาวะเพื่อประโยชน์อะไร ?” เพื่อเห็นสภาวธรรมที่ละเอียดมากขึ้นอีก อันนี้อย่าง หนึ่ง อีกอย่างหนึ่งคือเห็นอาการเกิดดับของลมหายใจเอง ลมหายใจที่เป็นกลุ่มก้อนเขาเรียกว่าเป็นบัญญัติ และบัญญัติตรงนี้ที่จะทาให้คนเรายึด กิเลสอาศัยอารมณ์บัญญัติเท่านั้น กิเลสเขาอาศัยอารมณ์ปรมัตถ์ ไม่ได้ เพราะเขาเกิดแล้วดับไป ยิ่งเราใส่ใจรายละเอียดตรงนี้มากขึ้นก็จะเป็นการฝึกตนเองให้เป็นคนที่ ละเอียดขึ้น รู้เท่าทันจิตใจของตนเองมากขึ้น การเจาะสภาวะตรงนี้นอกจากเพื่อเห็นอาการเกิดดับของ ลมหายใจทตี่ า่ งไปแลว้ อกี อยา่ งหนงึ่ กเ็ พอื่ ขดั เกลาจติ ใจของเราใหค้ ลายจากอปุ าทาน และอกี อยา่ งหนงึ่ กค็ อื เพื่อพัฒนาสติ-สมาธิ-ปัญญาให้แก่กล้ามากขึ้น


































































































   23   24   25   26   27