Page 31 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การเจาะสภาวะ
P. 31
209
คนเราจะทุกข์ก็ต่อเมื่อรู้สึกว่าเรื่องนั้นเป็นสาระเป็นเรื่องสาคัญ ถ้าเรื่องไร้สาระคิดได้ทั้งวัน ไม่ทุกข์ หรอก คิดสัพเพเหระไปเรื่อย ๆ แต่ว่าการคิดสัพเพเหระไปเรื่อย ๆ ไม่เกิดประโยชน์ยังไง ? ลองสังเกตดูสิ บางทีคิดสัพเพเหระเราก็สบายใจไม่เครียด แต่เวลาเราปฏิบัติธรรม ไม่ว่าจะคิดเรื่องที่เป็นสาระหรือไม่เป็น สาระหรอื เรอื่ งไหนกต็ าม “ใหเ้ ขา้ ไปร”ู้ สาระสา คญั ของการปฏบิ ตั คิ อื เขา้ ไปกา หนดรถู้ งึ การเกดิ ขนึ้ -ตงั้ อย-ู่ ดบั ไป และสงั เกตดวู า่ การปฏบิ ตั ธิ รรมทเี่ รยี กวา่ “มรรค” มรรคคอื เสน้ ทางทจี่ ะเดนิ ไปสมู่ รรคผลนพิ พาน เสน้ ทางที่จะเดินไปสู่มรรคผลนิพพานคืออย่างไร ? เดินทางโดยเครื่องบิน เดินทางโดยรถ... ?
การเดินทางที่จะไปสู่มรรคผลนิพพานเป็นการเดินทางด้วยสติ สมาธิ และปัญญาที่เป็นปัจจุบัน กลายเป็นว่าการเดินทางที่จะไปสู่มรรคผลนิพพานตามแนวทางที่พระพุทธเจ้าตรัส คือการไปรู้อาการ พระไตรลักษณ์ของรูปนามทุก ๆ ขณะที่เกิดขึ้น ที่บอกเมื่อกี้ ยิ่งดูเข้าไปยิ่งเห็นการเปลี่ยนแปลงของจิต ยิ่ง ดูเข้าไปจิตยิ่งเบาขึ้น ใสขึ้น โล่งขึ้น... นั่นก็คือความเป็นอนิจจังความไม่เที่ยงของจิตเอง ยิ่งเห็นการเปลี่ยน แปลงจติ ยงิ่ เบาขนึ้ ถา้ ไมเ่ ปลยี่ นเขาจะอยอู่ ยา่ งนนั้ นงิ่ ๆ ถามวา่ ใสขนึ้ ไดไ้ หม ? ไมม่ อี ะไรทจี่ ะตงั้ อยใู่ นความ ไม่เปลี่ยนแปลงแล้วจะพัฒนาได้ อะไรที่พัฒนาได้ย่อมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ แม้แต่จิตของเราเองสติ ของเราเอง ถ้านิ่งอย่างเดียวจะพัฒนาไปอย่างไร ? เขาก็แค่อยู่นิ่ง ๆ
เพราะฉะนั้น การที่เรามีสติเข้าไปกาหนดรู้อาการพระไตรลักษณ์ ทาให้ทั้งสติ สมาธิ และปัญญา พัฒนาขึ้น จึงเห็นอาการเกิดดับของรูปนามมีความชัดเจนขึ้นละเอียดขึ้นไปเรื่อย ๆ ยิ่งเราจดจ่ออยู่กับ อารมณ์ปัจจุบันต่อเนื่องมากเท่าไหร่ จิตก็ยิ่งเห็นสภาวธรรมที่ยิ่งละเอียด ละเอียดแค่ไหนก็เห็น เร็วแค่ไหน ก็ทัน อย่างเช่น พอเสียงดังปึ้งขึ้นมาทีหนึ่ง บางคนจะเห็นว่า ปึ้ง...ดับ แต่ในขณะเดียวกันบางคนจะเห็นว่า เสียงมันค่อย ๆ เคลื่อนออกไป ยืด...แล้วก็ดับไป ช้ามากเลย เสียงดับปกติแต่เห็นอาการเขาช้ากว่าจะจบ ลง นี่ก็คือความไวของสติของจิตเรา
เพราะฉะนั้น การพัฒนาจิตด้วยการกาหนดรู้อาการเกิดดับอย่างต่อเนื่องแบบนี้ มีสติรู้อารมณ์ ปจั จบุ นั รอู้ าการเกดิ ดบั ของอะไร ? ทบี่ อกวา่ ของรปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ หรอื ของกาย เวทนา จติ ธรรม หรืออาการที่ปรากฏเกิดขึ้นในอิริยาบถต่าง ๆ ของเรา ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทา พูด คิด อาการ ปกติของชีวิตเรานั่นแหละ แค่ให้มีสติเข้าไป ใช้คาว่า “แค่ให้มีสติ” ฟังแล้วรู้สึกง่ายจังเนอะ... ใช้คาไหนดี ? “ต้องมีสติกาหนดอย่าให้คลาดเคลื่อน อย่าให้หลุดแม้แต่วินาทีเดียว! ต้องจดจ่อเกาะติดอยู่กับอารมณ์ ปัจจุบันให้ชัดเจน ถ้าหลุดไปนี่ต้องเอาใหม่ทันที! อย่าทาเล่น ๆ” แทนที่จะรู้สึกน่ากลัวกลับน่าขาเสียอีก!
ปฏิบัติธรรมต้องทาจริง ๆ ธรรมะ/สัจธรรมเป็นเรื่องจริงเป็นความพิเศษ เมื่อไหร่ที่เข้าถึงตรงนั้นเรา จ ะ ร ส้ ู กึ ส บ า ย ท กุ ค ร งั ้ แ ต เ่ ว ล า เ ร า ท า น เี ่ ร า ท ม่ ุ เ ท แ ค ไ่ ห น เ ร า ใ ส ใ่ จ ม า ก แ ค ไ่ ห น เ ร า ใ ห ค้ ว า ม ส า ค ญั ก บั ค า ป ฏ ญิ ญ า ของตัวเองมากแค่ไหน ความอยากของเรามีกาลังแค่ไหน ? พอปฏิบัติธรรม อย่าอยาก อย่าอยาก! เวลาทา อย่างอื่น อยากเยอะ ๆ เราก็ประสบความสาเร็จทุกครั้งที่อยาก แต่พอปฏิบัติธรรม(กลับบอกว่า) ไม่ต้อง อยาก พอไม่อยากก็ไม่ทา! อะไรที่ควรอยากอะไรที่ไม่ควรอยากนี่ต้องสังเกตนะ ถ้าอยากก้าวหน้าก็ต้อง เพิ่มความเพียร ถ้าไม่มีความอยากเลยก็ไม่เพียรไม่ขยัน แล้วจะก้าวหน้าได้อย่างไร ?