Page 32 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การเจาะสภาวะ
P. 32
210
เวลาเราทางาน เรามีความอยากมากเลย อยากสาเร็จ โอ้โห! เราทุ่มเททั้งวันทั้งคืน ไม่หลับไม่นอน หลาย ๆ วันยังได้เลย แต่พอปฏิบัติธรรม ทาท่าแบบ โอ๊ย! ง่วงแล้ว เดี๋ยวง่วงเดี๋ยวง่วง... กลายเป็นแบบ นั้นไป! คิดดูสิ เราก็รู้สึกว่าธรรมะสาคัญมากนะ แต่พอทาจริง ๆ กลับเป็นแบบนี้แหละ! การที่เราทาอะไร เราเต็มที่ ไม่ใช่อยากยึด แต่อยากหลุดพ้น ต่างกันนะ! ถ้าอยากหลุดพ้น เราจะละไปเรื่อย ๆ สละอารมณ์ ที่เป็นตัวยึดไปเรื่อย ๆ แต่ถ้าอยากได้ มันจะคว้าเข้ามาหาตัวทั้งหมด ถ้ายังไม่อยากหลุดพ้นก็ไม่เป็นไร ขอให้อยากรู้คาสอนของพระพุทธเจ้าก็ถือว่าใช้ได้แล้ว
ถา้ อยากพสิ จู นธ์ รรมะของพระพทุ ธเจา้ ลองดสู !ิ ทา ไมพระพทุ ธเจา้ สอนใหเ้ รารถู้ งึ ความไมเ่ ทยี่ ง เหน็ ความไม่เที่ยงแล้วผลจะเป็นยังไง เห็นความไม่เที่ยงแล้วดียังไง เห็นอาการยึดไม่ได้แล้วมันดียังไง ถ้าเรา ไม่ยึดแล้วดียังไง คือการพิสูจน์ธรรมะด้วยตัวเราเอง ไม่ต้องให้ใครพิสูจน์แทน มันจะได้คาตอบให้ ตัวเราเอง นี่ เป็นปัจจัตตัง รู้ด้วยตัวเรา ไม่ใช่ว่า คนนั้นปฏิบัติตั้งนานทาไมถึงเป็นอย่างนั้น!? การปฏิบัติ ธรรมไม่ได้ขึ้นอยู่กับว่าปฏิบัติมานานหรือไม่นานและไม่ได้ขึ้นอยู่กับวัย ไม่ใช่ว่า คนนี้ปฏิบัติจนแก่แล้วยัง เหมือนเดิมเลย จริง ๆ แล้วน่าสรรเสริญน่าชื่นชมอย่างยิ่ง คิดดูสิ มีความเพียรแค่ไหนปฏิบัติตั้งแต่หนุ่ม จนแก่เลย... (ถ้าเช่นนั้น)เราเองจะปฏิบัตินิดเดียวก็ไม่ได้แล้ว!
นั่นคือความเพียรความพยายาม เขาเห็นอะไรเขาถึงขยันปฏิบัติขนาดนั้น ? เพราะเห็นว่าชีวิตวัฏฏะ การเวยี นวา่ ยตายเกดิ นนั้ เปน็ ทกุ ขอ์ ยา่ งไร แคม่ ปี ญั ญาตรงนถี้ อื เปน็ อานสิ งสม์ ากแลว้ แลว้ การมคี วามเพยี ร ที่จะออกจากทุกข์ ถึงแม้ลุ่ม ๆ ดอน ๆ ก็ยังเป็นการสั่งสมบารมีของตนของตน (แม้จะ)เดี๋ยวดีเดี๋ยวไม่ดี ก็ถือว่าเป็นสิ่งที่น่าภูมิใจ บางคนทาไมปฏิบัติแป๊บเดียวไปถึงไหนต่อไหนแล้ว ? ก็ถือว่าเป็นบุญของเขา เป็นบารมีที่เขาสร้างมา แล้วเราล่ะ... เรามัวแต่มองคนอื่นแล้วตัวเราเป็นไงบ้าง ? พอมาดูตัวเอง เราก็ ไม่แน่ใจ จะว่าดีก็ไม่เชิงจะว่าไม่ดีก็ไม่ใช่... ยังไม่ชัดเจน เพราะฉะนั้น กลับมาดูให้ชัดแล้วปฏิบัติไป ถึง เมื่อไหร่ก็เมื่อนั้นแหละ! เมื่อไหร่ถึงก็เรียกว่าถึง เมื่อยังไม่ถึงจะบอกว่าถึงก็ไม่ได้
สภาวธรรมอย่างที่บอกว่า ทายังไงจิตจะว่าง ? จริง ๆ แล้วเมื่อกี้เราทายังไงจิตถึงว่าง ? พอว่างแล้ว มีแค่นี้ไหม ? อ๋อ! ยังมีว่างกว่านี้ ยังมีดีกว่านี้ ละเอียดกว่านี้ แล้วจะเห็นดีกว่านี้ละเอียดกว่านี้ได้ไง ? ก็ต้อง เจาะสภาวะ แตข่ อนดิ หนงึ่ วา่ การเจาะสภาวะไมไ่ ดห้ มายความวา่ พอนงั่ ปบุ๊ เอาจติ ไชเขา้ ไปในทวี่ า่ ง ๆ ไชเขา้ ไป ในความเงียบ... ไม่ใช่! คาว่า “เจาะสภาวะ” คือ “มุ่ง” ไปรู้อาการเกิดดับ พอเสียงดังขึ้นมา มีเจตนาเข้า ไปรู้ว่าเสียงนี้เกิดดับอย่างไร เกิดดับแบบไหน อย่างที่บอกเสียงปั้งเดียว บางคนนี่ปั้งเดียวมันดับแว็บหาย ไปเลย แต่บางคนนี่ปั้งปุ๊บ เสียงที่ปั้งขึ้นมาในนั้นมีการดับยิบ ๆ ๆ ๆ แว็บ ๆ แว็บ ๆ ๆ แล้วก็หมดไป
นี่คือความละเอียดของสติของจิตแต่ละคนไม่เท่ากัน เพราะฉะนั้น พอถามว่า “เขาเกิดดับยังไง ?” เห็นอาการเขาดับแบบนี้ ถูกไหมอาจารย์ ? อาจารย์บอกว่า “ถูก” แล้วดับแบบนี้ถูกไหมอาจารย์ ? “ถูก” ทาไมคนนั้นก็ถูกคนนี้ก็ถูก ? ก็ถูกทั้งหมด จะให้บอกว่าผิดได้ยังไง! เพราะความไม่เที่ยง ความไม่แน่นอน ลักษณะอาการพระไตรลักษณ์ที่ต่างกัน ตามกาลังของสติ-สมาธิ-ปัญญาของแต่ละคน แต่ละขณะแต่ละ บัลลังก์ด้วยนะ คนคนเดียวกัน เสียงเดียวกัน บัลลังก์ก่อนเห็นแบบนี้ พอมาบัลลังก์นี้ อ้าว! ทาไมเปลี่ยน ไปอีกแล้ว นี่คือเป็นตัวบอกว่าในแต่ละขณะสภาวธรรมที่เกิดขึ้นเขามีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ